ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บารอมิเตอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับปรุง
บรรทัด 1:
{{issues|จัดรูปแบบ=yes|ต้องการอ้างอิง=yes}}
 
[[ไฟล์:Modern Aneroid Barometer.jpg|thumb|แอนิรอยด์บารอมิเตอร์ แบบใหม่]]
[[ไฟล์:Old-barometers.jpg|thumb|250px|บารอมิเตอร์แบบปรอทจาก Musée des Arts et Métiers, [[ปารีส]]]]
 
'''บารอมิเตอร์''' เป็นเครื่องมือตรวจวัด [[ความดันบรรยากาศ]] สำหรับวัดค่า ความกดดัน ที่เกิดจากแรงดันของอากาศ โดยใช้ ของเหลวหรือวัสดุแข็ง ที่สัมผัสโดยตรงกับอากาศ แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงความกดดัน สามารถนำไปทำนายการเปลี่ยนแปลง[[สภาพอากาศ]]ในช่วงเวลาสั้น ๆ การวัดความกดดันอากาศหลายจุดนำมาประมวลผลภายใน[[การวิเคราะห์อากาศพื้นผิว]] (surface weather analysis) เพื่อช่วยค้นหา[[ร่องความกดอากาศ]] (surface troughs), [[ระบบความกดอากาศสูง]] (high pressure systems) และ[[เส้นความกดอากาศเท่า]] (frontal boundaries) ค้นพบหลักการและประดิษฐ์โดย [[เอวานเจลิสตา โตร์ริเชลลี]]
แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงความกดดัน สามารถนำไปทำนายการเปลี่ยนแปลง[[สภาพอากาศ]]ในช่วงเวลาสั้นๆ การวัดความกดดันอากาศหลายจุด นำมาประมวลผลภายใน [[การวิเคราะห์อากาศพื้นผิว]] (surface weather analysis) เพื่อช่วยค้นหา [[ร่องความกดอากาศ]] (surface troughs), [[ระบบความกดอากาศสูง]] (high pressure systems), และ [[เส้นความกดอากาศเท่า]] (frontal boundaries) ค้นพบหลักการและประดิษฐ์โดย [[เอวานเจลิสตา โตร์ริเชลลี]]
 
== ประวัติ ==
== ประวัติ ==ะัพ้่ดเ้ด้กดก้ดเ้ด้ก้กด้กดเ้กดเ้กด้กด้ด้กดเ้เกด้
{{โครงส่วน}}
 
เส้น 14 ⟶ 12:
[[ไฟล์:Barometer Goethe 01.jpg|thumb|บารอมิเตอร์แบบเกอเทอ]]
 
==== บารอมิเตอร์แบบปรอท หลอนควาย===
 
บอรอมิเตอร์แบบปรอทสามารถทำขึ้นได้โดยใส่ปรอทในท่อแก้วยาว แล้วคว่ำลงในอ่างปรอท ความดันของปรอทจะทำให้ลำของปรอทค้างอยู่ในหลอด ในแต่ละวันความดันของปรอทจะมีการเปลี่ยนแปลง ความสูงของลำปรอทจะมีการเปลี่ยนแปลงด้วย ความสูงของลำปรอทในภาพวัดระยะได้ 760 mm เรียกว่าความดันมาตรฐานของบรรยากาศ (เขียนว่า 760 mm Hg) เครื่องดื่มผสมสีหรือ (โค๊ก เป๊ปซี่ แฟนต้า ฯลฯ760 มิลลิเมตรปรอท) จะเคลื่อนที่ขึ้นตามหลอดดูดด้วยเหตุผลเดียวกัน คือ ความดันบรรยากาศ ผลักให้ของเหลวไหลขึ้นไปเข้าปากของเรา{{โครงส่วน}}
==== บารอมิเตอร์แบบปรอท หลอนควาย
{{โครงส่วน}}
บอรอมิเตอร์แบบปรอทสามารถทำขึ้นได้โดยใส่ปรอทในท่อแก้วยาว แล้วคว่ำลงในอ่างปรอท ความดันของปรอทจะทำให้ลำของปรอทค้างอยู่ในหลอด ในแต่ละวันความดันของปรอทจะมีการเปลี่ยนแปลง ความสูงของลำปรอทจะมีการเปลี่ยนแปลงด้วย ความสูงของลำปรอทในภาพวัดระยะได้ 760 mm เรียกว่าความดันมาตรฐานของบรรยากาศ (เขียนว่า 760 mm Hg) เครื่องดื่มผสมสี (โค๊ก เป๊ปซี่ แฟนต้า ฯลฯ ) จะเคลื่อนที่ขึ้นตามหลอดดูดด้วยเหตุผลเดียวกัน คือ ความดันบรรยากาศ ผลักให้ของเหลวไหลขึ้นไปเข้าปากของเรา{{โครงส่วน}}
 
=== แอนิรอยด์บารอมิเตอร์ ===
แอนนิรอยด์บารอมิเตอร์ (aneriod barometer) ชนิดไม่ใช้ปรอทหรือของเหลวแบบอื่นๆอื่น ๆ เป็นบารอมิเตอร์ที่จะทำเป็นตลับโลหะแล้วนำเอาอากาศออกจนเหลือน้อย (คล้ายจะทำให้เป็นสุญญากาศ) เมื่อมีแรงจากอากาศมากดตลับโลหะ จะทำให้ตลับโลหะมีการเคลื่อนไหว ทำให้เข็มที่ติดไว้กับตัวตลับชี้บอกความกดดันของอากาศโดยทำสเกลบอกระดับความดันของอากาศไว้ แอนนิรอยด์บารอมิเตอร์ประดิษฐ์โดยวีดี (Vidi) ในปี พ.ศ. 2388 มีขนาดเล็กพกพาไปได้สะดวก
{{โครงส่วน}}
 
=== บารอกราฟ ===
ใช้หลักการเดียวกันกับบอรอมิเตอร์แบบตลับ แต่ต่อแขนปากกาให้ไปขีดบนกระดาษกราฟที่หุ้มกระบอกหมุนที่หมุนด้วยนาฬิกา จึงบันทึกความกดอากาศ
 
 
=== เครื่องมือวัดประยุกต์ ===
{{โครงส่วน}}
 
 
==== แอลติมิเตอร์ ====
{{โครงส่วน}}
 
 
==== มานอมิเตอร์ ====
{{โครงส่วน}}
 
 
 
== การใช้ประโยชน์ ==
เส้น 41 ⟶ 36:
 
== ผู้ผลิต ==
[[เอวานเจลิสตา โตร์ริเชลลี]] เป็นผู้ประดิษฐ์คิดค้น บารอมิเตอร์ ซึ่งเกิดขึ้นจากการแก้ปัญหาการทดลองที่สำคัญ การสร้างน้ำพุกลางบ่อที่ขุดลึกประมาณ 16-18 เมตร ของแกรนด์ดยุกแห่งทัสโคนี พยายามสูบน้ำในท่อให้สูง 12 เมตรหรือมากกว่า โดยขณะลูกสูบยกน้ำขึ้น จะเกิดสุญญากาศทำให้เกิดแรงยกของเหลวขึ้นที่ปลายท่อขาออก แต่ค้นพบว่า ไม่ว่าทำอย่างไรก็ขึ้นไปได้เพียงขีดจำกัดที่ 9-10 เมตร ไม่สามารถสูบให้สูงกว่านี้
 
เมื่อ พ.ศ. 2186 โตร์ริเชลลีทดลองเพิ่มเติมโดยใช้ปรอท ซึ่งหนักเป็น 13-14 เท่าของน้ำ และพบว่าได้ผลทำนองเดียวกัน โดยขีดจำกัดต่ำกว่า เขาสร้างท่อที่มีความยาวประมาณ 1 เมตร บรรจุด้วยปรอท ปลายข้างหนึ่งตัน แล้วติดตั้งในแนวตั้ง ให้ปลายอีกข้างจมอยู่ในอ่าง ปรอทในท่อถูกยกขึ้นไปกับท่อได้สูงเพียงประมาณ 76 เซนติเมตร หรือ 760 มิลลิเมตร แม้ว่าท่อจะถูกยกให้สูงกว่านี้ ภายในเหนือปรอทเป็นสุญญากาศ (Torricellian vacuum) วิธีนี้เป็นที่มาของหน่วยเทียบความดันของอากาศ โดยความดันอากาศที่ระดับน้ำทะเลเท่ากับ 760 มิลลิเมตรของปรอท และที่ระดับความสูงกว่าระดับน้ำทะเล ความดันอากาศจะน้อยกว่า 760 มิลลิเมตรของปรอท
เมื่อ พ.ศ. 2186 โตร์ริเชลลี ทดลองเพิ่มเติมโดยใช้ ปรอท ซึ่งหนักเป็น 13-14 เท่า ของน้ำ และพบว่า ได้ผลทำนองเดียวกัน โดยขีดจำกัดต่ำกว่า
เขาสร้างท่อที่มีความยาวประมาณ 1 เมตร บรรจุด้วยปรอท ปลายข้างหนึ่งตัน แล้วติดตั้งในแนวตั้ง ให้ปลายอีกข้างจมอยู่ในอ่าง ปรอทในท่อถูกยกขึ้นไปกับท่อได้สูงเพียงประมาณ 76 เซนติเมตร หรือ 760 มิลลิเมตร แม้ว่าท่อจะถูกยกให้สูงกว่านี้ ภายในเหนือปรอทเป็นสุญญากาศ (Torricellian vacuum) วิธีนี้เป็นที่มาของหน่วยเทียบความดันของอากาศ โดยความดันอากาศที่ระดับน้ำทะเลเท่ากับ 760 มิลลิเมตรของปรอท และที่ระดับความสูงกว่าระดับน้ำทะเล ความดันอากาศจะน้อยกว่า 760 มิลลิเมตรของปรอท
 
ในปี พ.ศ. 2184 เขาประกาศการค้นพบสิ่งนี้ว่า "บรรยากาศเป็นตัวการทำให้เกิดแรงกดของอากาศเปลี่ยนไปในเวลาต่างกัน " และสิ่งนี้คือ เครื่องวัดความดันอากาศ เครื่องแรก เป็นการค้นพบที่สร้างชื่อเสียงตลอดกาลแก่เขา หลายศตวรรษต่อมา ชื่อหน่วยในการวัดความดัน จึงถูกตั้งตามชื่อนามสกุลของเขาว่า ทอร์ (torr) ซึ่งก็คือ หน่วย มิลลิเมตรปรอท นั่นเอง โดยเทียบ 1 มิลลิเมตรปรอท หรือ 1 ทอร์ เท่ากับประมาณ 133.322 ปาสคาล ในหน่วยอนุพันธ์ของหน่วยเอสไอ เขายังทดลองต่อมา พบอีกว่า แรงดันหรือความดันอากาศ ในแต่ะวัน จะแตกต่างเปลี่ยนแปลงไปเล็กน้อย นอกจากนี้ปัจจุบัน เข้าใจกันดีว่า ความสูงของของเหลวในท่อ แปรผกผันกับ ความดันอากาศ (ซึ่งเปลี่ยนแปลงไปในแต่ละระดับความสูง) อีกด้วย
 
== สิทธิบัตร ==
[[ไฟล์:Table of Pneumaticks, Cyclopaedia, Volume 2.jpg|thumb|ตาราง Pneumaticks. '''Cyclopaedia''' 1728]]
 
{{โครงส่วน}}
 
เส้น 56 ⟶ 49:
* [[พลศาสตร์]]
* [[ความดัน]]
* [[อุตุนิยมวิทยา]],
* [[บรรยากาศ]]
* [[สภาพอากาศ]]
เส้น 81 ⟶ 74:
 
[[หมวดหมู่:เครื่องมือและอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์]]
 
{{โครงเทคโนโลยี}}