ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อาลิยา อิเซ็ตเบกอวิช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Nakwat (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 26:
 
อาลียา อีเซตเบกอวิช นับถือศาสนาอิสลามนิกายซุนนี เสียชีวิตในวันที่ 15 ตุลาคม ค.ศ. 2003 ด้วยอายุ 73 ปี ที่กรุง[[ซาราเยโว]]
 
== ชีวิตและวัยเด็ก จนถึงวัยทำงาน ==
อาลียา อีเซ็ตเบโกวิช เกิดวันที่8 สิงหาคม ปี1925 ที่บอสสานสกา ซามัช ในครอบครัวที่เคร่งศาสนาอิสลาม แนวคิดอุดมการณ์ ชาตินิยมอิสลามบอสเนียได้เข้าสู่ตัวอาลียา ช่วงกลางศตวรรษที่19 อาลียาออกต้องจากกรุงเบลเกรด เพราะกฎหมายที่ประกาศห้ามเข้า มุสลิมบอสเนีย อาศัยในเมืองดังกล่าว เขาเข้ามาอยู่ในกรุงซาราเยโว และศึกษาเรื่อง รัฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์ การปกครอง ในมหาวิทยาลัยซาราเยโว ช่วงสงครามโลกครั้งที่2 เยอรมันบุกยึดกรุงซาราเยโว ฟาสซิสต์เยอรมันได้ก่อตั้งขบสนการต่อต้านยิว เซิร์บและเชิดชูมุสลิมนามว่า ยุวชนมุสลิมบอสเนีย อาลียา อีเซ็ตเบโกวิชได้เข้าร่วมองค์กร และดำเนินการต่อต้านเซิร์บ แต่ในปี1943 เซิร์บก็ยึดซาราเยโวและสังหารหมู่ชาวมุสลิมบอสเนีย ยุวชนมุสลิมบอสเนียได้เข้าต่อต้านแต่แพ้ราบคาบ กระนั้นบอสเนียในอำนาจเยอรมันของฮิตเลอร์จึงจบลง ยุวชนมุสลิมบอสเนีย ก็หายไป บอสเนียกลายเป็นส่วนหนึงของยูโกสลาเวียใหม่
 
== อาชีพการงาน ==
อาลียา อีเซ็ตเบโกวิช หลังสงครามโลกได้เข้าเป็นทนาย นักเขียน อายุ21ปี ในปี1946 อาลียาได้เขียน หนังสือ "ประกาศแห่งอิสลาม" ซึ่งกำลังถูกกตีพิมพ์แต่ทางการคอมมิวนิสต์ยูโกสลาเวียสั่งห้ามพิมพ์และจับกุมเขา 3 ปี ข้อหาเป็นสมาชิกยุวชนมุสลิมบอสเนีย กระนั้นในหนังสือของเขากล่าวไว้ว่า "ไม่มีสันติภาพเกิดขึ้นระหว่างศรัทธาในอิสลามกับสังคมและสถาบันการเมืองที่มิใช่อิสลาม" หลังจากพ้นโทษ อาลียา ก็ได้เริ่มรณรงค์ให้ชาวบอสเนียขึ้นสู่เพื่อปลดปล่อยอิสลาม เขาจัดกิจกรรมและก่อตั้งพรรคประชาธิปไตยแอกชัน ขึ้นเพื่อเป็นแกนนำการเมืองของชาวบอสเนีย ในปี1974 ประกาศแห่งอิสลามถูกจัดพิมพ์อีกครั้งและตีโต้เล่งเห็นว่าอำนาจมุสลิมบอสเนียกำลังก้าวสู่อำนาจทางการเมืองยูโกสลาเวีย แต่ในปี1980เขาตีพิมพ์หนังสืออิสลามระหว่างตะวันออกและตะวันตก ทำให้เขาถูกต้องโทษ14ปี แต่ก็ถูกแล่อยใน5ปีต่อมา อาลียา อีเซ็ตเบโกวิช รณรงค์ ปลุกมวลชนมุสลิมบอสเนีย จนในที่สุด การเมืองท้องถิ่นของสาธารณรัฐสังคมนิยมบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ก็ตกเป็นของพรรคประชาธิปไตยแอกชัน ซึ่งทำให้บอสเนียเข้าสู่การกุมอำนาจยูโกสลาเวีย เมื่ออาลียา อีเซ็ตเบโกวิชได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานาธิบดีสาธารณรัฐสังคมนิยมบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
 
== ตำแหน่งประธานาธิบดีสาธารณรัฐสังคมนิยมบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ==
ในที่สุด สมัชชาบอสเนียจึงขึ้นอยู๋ใน3อำนาจหลักของยูโกสลาเวีย ซึ่งประกอบไปด้วย สมัชชาโครเอเชีย(คริสต์คาทอลิก),สมัชชาเซอร์เบีย(ออธอร์ด็อกซ์)และสมัชชาบอสเนีย(มุสลิม) แต่สมัชชาเซอร์เบียกลับพยายามควบคุมอำนาจประเทศเบ็ดเสร็จทำให้สมัชชาโครเอเชียในตำแหน่งประธานาธิบดียุโกสลาเวียไม่พอใจ จึงประกาศเอกราชโครเอเชียจากยุโกสลาเวีย สมัชชาเซอร์เบียหรือสาธารณรัฐสังคมนิยมเซอร์เบียจึงรุกราน สาธารณรัฐสังคมนิยมโครเอเชีย / สาธารณรัฐโครเอเชีย ในขณะนั้นบอสเนียเป็นกลาง แต่ในสภาที่กรุงซาราเยโว พวกเซิร์บพยายามขัดขวางอำนาจของบอสเนีย ทำให้หลายๆคนจึงกระซิบหูของอาลียาว่า เห็นแก่อนาคตของบอสเนีย เราต้องทำอะไรสักอย่าง อาลียาจึงเลือกเข้าข้างโครเอเชียในปี1992 สมัชชาเซอร์เบียได้ขัดขวางพลังมวลชนบอสเนียนับแสนคนในซาราเยโวด้วยกากราดยิงทำให้รัฐบาลสาธารณรัฐสังคมนิยมบอสเนีย จึงประกาศสงครามกับเซอร์เบีย ทำให้ยูโกสลาเวียล้มสลายอย่างสมบูรณ์
 
== สงครามบอสเนีย==
ในปีวันที่ 6 เมษายน ปี1992 ทหารเซอร์เบียบุกกราดยิงมวลชนบอสเนีย ทำให้ทหารบอสเนียจึงเข้าต่อต้าน รัฐบาลบอสเนียจึงแยกตัวเป็นอิสระ และประกาศจัดตั้งสาธารณรัฐบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา อาลียา อีเซ็ตเบโกวิชขึ้นดำรงตำแหน่งประธานาธิบดี ปลุกชาตินิยมบอสเนีย อิสลามขึ้นมา และกำจัดพวกโครแอทและเซิร์บออกจากแผ่นดินบอสเนีย สงครามในบอสเนียจึงอุบัติเป็นสงครามสามฝ่าย อาลียา อีเซ็ตเบโกวิช พยายามเรียกร้องให้นานาชาติยุตินโยบายไม่ขายอาวุธให้บอสเนียเพื่อสนับสนุนให้โครเอเชียยึดบอสเนีย อาลียา จึงหันไปหาประเทศมุสลิม ตุรกี ซาอุดิอารเบีย มาเลยเซียและอื่นๆจึงหันมาให้ความช่วยเหลือและเมื่อเกิดการฆ่าล้างเผ่าพันธ์บอสเนีย ตุรกี และพันธมิตรมุสลิมจึงส่งทหารเข้ามายังบอสเนีย แตกระนั้นสหรัฐอเมริกาก็บีบทุกวิถีทางให้บอสเนียยอมรับให้ประเทศตนเป็นประเทศพหุสังคมและยุติการขับไล่ชาวเซิร์บและโครแอท ในปี1995 บอสเนียจำยอมรับข้อเสนอที่ไม่ยุติธรรม อาลียา ได้กล่าวกับประชาชนว่า ความยุติธรรมของบอสเนียหายไปแล้ว เมื่อสหรัฐอเมริกาและประเทศตะวันตก วางหมากให้เราเป็นประเทศพหุสังคม โดยแบ่งประเทศ4ส่วน 2ส่วนเป็นของเซิร์บและ1ส่วนเป็นของโครแอท ส่วนบอสเนียมีแค่1ส่วน นับว่าเป็นความอัปยศของบอสเนีย
 
== หลังสงครามบอสเนียและการเสียชีวิต==
หลังสงครามอาลียา อาจจะยอมรับสนธิสัญญาเดย์ตัน ที่เปลี่ยนบอสเนียเป็นรัฐพหุสังคม อย่างไม่เต็มใจหนัก อาลียา ได้ระบุกับชาวบอสเนียว่า ประเทศบอสเนียใหม่กลับไม่ใช้ของเรา ถึงกระนั้น อาลียา ยังดำรงประธานาธิบดี สลับกับพวกโครแอทและเซิร์บ จนในที่สุดอาลียา จำต้องลาออกจากตำแหน่งและแต่งตั้งบุตรชาย เป็นคนสืบทอดอำนาจ ด้วยปัญหาสุขภาพ ของอาลียา แต่กระนั้นบอสเนียที่อาลียา วาดเอาไว้ไม่สามารถเป็นจริงได้ รัฐอิสลามใจกลางทวีปยุโรปคงเป็นเรื่องที่ไม่มีทางเป็นไปได้แล้ว ในวันที่19 ตุลาคม ปี2003 อาลียา อีเซ็ตเบโกวิช ก็เสียชีวิต นานาชาติมุสลิมได้แสดงความเสียใจ และลดธงเหลือครึ่งเสา ไว้อาลัยชายผู้อุ้มชูอิสลามแห่งยุโรป
 
== มรดก==
ในปี2015 ประธานาธิบดีตุรกี เรเยป ไตยิป เอร์โดกัน ได้ระบุว่า อาลียา อีเซ็ตเบโกวิชคือวีรบุรุษแห่งอิสลามแห่งศตวรรษ21 นอกจากนี้กระแส่อิสลามบอสเนียไม่เคยดับชาวบอสเนียพยายามที่จะวาดฝันของอาลียา ให้เป็นจริงให้ได้ ปัจจุบันบอสเนียจึงมีปัญหาการเมืองเมื่องชาวบอสเนียกำลังเรียกร้องอิสระภาพในการตั้งรัฐอิสลามบอสเนีย แม้จะถูกต่อต้านจากตะวันตก แต่ตุรกี ได้ให้การสนับสนุนบุตรชายของอาลียา ในการเล่นเกมการเมืองบอสเนียทุกด้าน
 
{{birth|1925}}