ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิเวศวิทยา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Tchaianunporn (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขคำผิด
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 57:
[[ไฟล์:Blue Linckia Starfish.JPG|thumb|ความหลากหลายทางชีวภาพของแนวปะการัง ปะการังจะปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมและปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อมของพวกมันโดยการสร้างโครงร่างด้วยแคลเซียมคาร์บอเนต ซึ่งจะช่วยเพิ่มสภาวะการเจริญเติบโตสำหรับลูกหลานในอนาคตและก่อรูปแบบที่อยู่อาศัยสำหรับสายพันธุ์อื่นๆอีกมากมาย<ref name="Kiessling09" />]]
 
==สถาวะสภาวะที่เหมาะสม ({{lang-en|Niche}})==
บทความหลัก: สถาวะสภาวะที่เหมาะสมทางนิเวศวิทยา
 
[[ไฟล์:Termite mound-Tanzania.jpg|thumb|ปลวกจะปั้นมูลดินให้เป็นปล่องไฟที่มีความสูงที่แตกต่างกันเพื่อควบคุมการแลกเปลี่ยนอากาศ อุณหภูมิและพารามิเตอร์ด้านสิ่งแวดล้อมอื่นๆที่จำเป็นเพื่อสร้างความยั่งยืนด้านสรีรวิทยาภายในของอาณานิคมทั้งหมด<ref name="Laland99" /><ref name="Hughes08"/>]]
 
นิยามของคำว่า niche ย้อนกลับไปในปี 1917<ref name="Wiens05"/> แต่ G. Evelyn Hutchinson ทำให้แนวคิดนี้ก้าวหน้าแพร่หลายในปี 1957<ref name="Hutchinson57"/><ref name="Hutchinson57b"/> โดยการแนะนำนิยามที่ถูกนำมาใช้กันอย่างแพร่หลายว่าหมายถึง "ชุดของสภาพแวดล้อมแบบชีวนะและอชีวนะชีวภาพและกายภาพในที่ซึ่งสายพันธุ์หนึ่งสามารถที่จะยังคงมีอยู่และรักษาขนาดประชากรไว้อย่างคงที่"<ref name="Wiens05" />{{Rp|519}} สภาวะทางนิเวศวิทยาเป็นแนวคิดกลางในนิเวศวิทยาของสิ่งมีชีวิตและถูกแบ่งย่อยออกเป็นสภาวะ"พื้นฐาน"และสภาวะ"ตระหนัก" สภาวะพื้นฐานคือชุดของสภาวะสิ่งแวดล้อมที่สายพันธุ์หนึ่งสามารถที่จะยังคงมีอยู่ได้ สภาวะตระหนักคือชุดของสภาวะสิ่งแวดล้อมบวกกับสภาวะทางนิเวศวิทยาที่สายพันธุ์หนึ่งจะยังคงมีอยู่<ref name="Wiens05"/><ref name="Hutchinson57b"/><ref name="Begon05"/> สถาวะแบบของ Hutchinson ถูกขยายนิยามในทางเทคนิคให้มากขึ้นเป็น "ไฮเปอร์สเปซของยุคลิด ({{lang-en|Euclidean hyperspace}}) ที่ "มิติ" ของมันถูกกำหนดเป็นตัวแปรด้านสิ่งแวดล้อมและ "ขนาด" ของมันถูกกำหนดเป็นฟังก์ชันของตัวเลขของค่าที่คุณค่าของสิ่งแวดล้อมที่อาจสันนิษฐานว่าสิ่งที่มีชีวิตหนึ่งมี "ความเหมาะสมเชิงบวก""<ref name="Hardesty75"/>{{rp|71}}
 
รูปแบบทางชีวภูมิศาสตร์และการกระจายของสายพันธ์มีการอธิบายหรือทำนายผ่านความรู้ของลักษณะของสายพันธุ์และความต้องการด้านสภาวะที่เหมาะสม<ref name="Pearman08"/> หลายสายพันธ์มีลักษณะ(ทางกรรมพันธ์) ({{lang-en|traits}}) ของฟังชั่นทางพันธุกรรมที่ถูกปรับเปลี่ยนที่ไม่เหมือนใครให้เข้ากับสภาวะทางนิเวศวิทยา ลักษณะทางพันธุกรรมหนึ่งๆจะเป็นสมบัติ ({{lang-en|property}}) หรือลักษณะทางพันธุกรรมที่ปรากฏให้เห็นเช่นศูงต่ำดำขาว ({{lang-en|phenotype}}) ที่วัดได้ของสิ่งมีชีวิตที่อาจมีอิทธิพลต่อการอยู่รอดของมัน ยีนมีบทบาทสำคัญในการมีปฏิสัมพันธ์ของการพัฒนาและการแสดงออกด้านสิ่งแวดล้อมของลักษณะทางพันธุกรรม<ref name="Levins80" /> สายพันธุ์ประจำถิ่นจะวิวัฒนาการลักษณะทางพันธุกรรมที่เหมาะสมกับแรงกดดันตัวเลือกของสภาพแวดล้อมในท้องถิ่นของพวกมัน ซึ่งมีแนวโน้มยอมรับข้อได้เปรียบในการแข่งขันและกีดกันสายพันธ์ที่ถูกดัดแปลงมาคล้ายกันจากการกระจายทางภูมิศาสตร์ที่ทับซ้อนกัน 'หลักการกีดกันด้านการแข่งขัน' ระบุว่าสองสายพันธ์ไม่สามารถอยู่ร่วมกันไปเรื่อยๆโดยการอาศัยอยู่ในทรัพยากรที่จำกัดเดียวกัน; สายพันธ์หนึ่งมักจะเก่งกว่าอีกสายพันธ์หนึ่ง เมื่อสายพันธ์ที่ถูกดัดแปลงมาคล้ายกันมีถิ่นที่อยู่ทับซ้อนกันทางภูมิศาสตร์ การตรวจสอบอย่างใกล้ชิดเปิดเผยให้เห็นถึงความแตกต่างของระบบนิเวศที่ลึกซึ้งในที่อยู่อาศัยหรือความต้องการอาหารของพวกมัน<ref name="Hardin60"/> อย่างไรก็ตาม การศึกษาบางโมเดลและเชิงประจักษ์แนะนำว่าการปั่นป่วน ({{lang-en|disturbance}}) สามารถปรับปรุงวิวัฒนาการร่วมและสภาวะการเข้าอยู่อาศัยที่เหมาะสม ({{lang-en|niche}}) ที่ใช้ร่วมกันของสายพันธุ์ที่คล้ายกันที่เข้าพักอาศัยอยู่ในชุมชนหลากสายพันธ์ที่อุดมสมบูรณ์<ref name="Scheffer06"/> ถิ่นที่อยู่อาศัยรวมกับสภาวะที่เหมาะสมเรียกว่า ecotope ซึ่งถูกกำหนดให้เป็นตัวแปรเต็มรูปแบบด้านสิ่งแวดล้อมและด้านชีวภาพที่มีผลกับทั้งสายพันธุ์<ref name="Whittaker73" />