ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอเชียนเกมส์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
| ภาพ = Asian_Games_logo.svg
| ขนาดภาพ = 200px
| บรรยายภาพ = ตราสัญลักษณ์ของกีฬาเอเชียนเกมส์
| ชื่อย่อ = Asiad
| คำขวัญ = Ever Onward<br/>(ก้าวหน้าตลอดไป)
| ก่อตั้ง = [[เอเชียนเกมส์ 1951|ครั้งที่ 1]] [[พ.ศ. 2494]]<br/>{{ธง|อินเดีย}} [[กรุงนิวเดลี]], [[อินเดีย]]
| จัดขึ้นทุก = 4 ปี
| ครั้งล่าสุด = [[เอเชียนเกมส์ 2014|ครั้งที่ 17]] ที่[[อินชอนอินช็อน]]<br/>{{ธง|เกาหลีใต้}} [[ประเทศเกาหลีใต้]]
| วัตถุประสงค์ = [[กีฬา]]สำหรับ[[ภูมิภาค]][[เอเชีย]]
| สำนักงานใหญ่ = [[สภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย]]<br/>[[กรุงคูเวตซิตี]], [[รัฐคูเวต]]
| ชื่อตำแหน่งผู้นำ = ประธาน
| ชื่อผู้นำ = {{flagicon|Kuwait}} เชค ฟาฮัด อัล-ซาบะห์
| เว็บไซต์ = [http://www.ocasia.org/Game/GamesL1.aspx?9QoyD9QEWPeJ2ChZBk5tvA== กีฬาเอเชียนเกมส์]
}}
 
บรรทัด 31:
{{บทความหลัก|สหพันธ์เอเชียนเกมส์}}
 
จากนั้นในปี [[พ.ศ. 2491]] (ค.ศ. 1948) กลุ่มนักกีฬาของ[[สาธารณรัฐประชาชนจีน]] และ[[ฟิลิปปินส์]] ซึ่งเข้าร่วมแข่งขันใน[[โอลิมปิกฤดูร้อน 1948|โอลิมปิกฤดูร้อน ครั้งที่ 14]] ที่[[กรุงลอนดอน]]ของ[[สหราชอาณาจักร]] มีดำริที่จะฟื้นการแข่งขันกีฬาตะวันออกไกลขึ้นใหม่ อย่างไรก็ตาม กูรู ดัตท์ สนธิ (Guru Dutt Sondhi) ผู้แทนคณะกรรมการ[[โอลิมปิก]]แห่ง[[อินเดีย]] ให้ความเห็นว่า ควรเปิดกว้างให้แก่ทุกประเทศในทวีปเอเชีย สามารถเข้าร่วมการแข่งขันอย่างเท่าเทียมกัน จึงเสนอให้ร่างระเบียบขึ้น เพื่อจัดตั้งขึ้นในรูปสหพันธ์กีฬาแห่งเอเชีย (The Asian Athletic Federation) ต่อมาเมื่อวันที่ [[13 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2492]] (ค.ศ. 1949) ธรรมนูญองค์กรก็เสร็จสมบูรณ์ พร้อมทั้งเปลี่ยนชื่อเป็น '''สหพันธ์กีฬาเอเชียนเกมส์เอเชีย''' (The Asian Games Federation)<ref name="history">[http://www.ocasia.org/Council/History.aspx ประวัติศาสตร์ของสภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย], [http://www.ocasia.org เว็บไซต์สภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย]</ref> ถือกำเนิดขึ้นที่[[กรุงนิวเดลี]]ของอินเดีย ซึ่งเมืองหลวงแห่งนี้เอง ที่เป็นเจ้าภาพ[[เอเชียนเกมส์ 1951|การแข่งขันครั้งที่ 1 ของเอเชียนเกมส์]] ในอีกสองปีถัดมา ([[พ.ศ. 2493]]; ค.ศ. 1950)
 
ระยะต่อมาเกิดปัญหาขึ้น ตั้งแต่ก่อน[[เอเชียนเกมส์ 1978|การแข่งขันครั้งที่ 8]] ซึ่งมี[[กรุงเทพมหานคร]]ของ[[ไทย]]เป็นเจ้าภาพ เมื่อปี [[พ.ศ. 2521]] (ค.ศ. 1978) เนื่องจากสหพันธ์เอเชียนเกมส์ ออกมติไม่ยินยอมให้ จีนไทเปและ[[อิสราเอล]] เข้าร่วมแข่งขัน อันมีสาเหตุมาจากปัญหาการเมืองภายในของทั้งสองชาติ ทำให้เกิดความกังวลต่อการรักษาความปลอดภัย<ref>{{cite news|title=Asian Games Federation says no to Israel|url=http://news.google.com/newspapers?id=v7seAAAAIBAJ&sjid=Sr4EAAAAIBAJ&pg=1934,684691&dq=1978+asian+games&hl=en|accessdate=2010-10-09|newspaper=Anchorage Daily News|date=1978-06-03}}</ref> เป็นเหตุให้องค์กรกีฬาระดับนานาชาติหลายแห่ง ออกมาทักท้วงต่อต้าน โดยเฉพาะสหพันธ์สมาคมกรีฑานานาชาติ (International Association of Athletics Federations; IAAF) ถึงกับประกาศขู่ว่า หากนักกรีฑาของชาติใด เข้าร่วมแข่งขันเอเชียนเกมส์คราวนี้ สหพันธ์ฯจะกีดกันไม่ให้เข้าแข่งขัน ในกีฬา[[โอลิมปิกฤดูร้อน 1980|โอลิมปิกครั้งที่ 22]] ประจำปี [[พ.ศ. 2523]] (ค.ศ. 1980)<ref>{{cite news|title=New Israeli rejection forces Asian athletes to risk Olympic hope|url=http://news.google.com/newspapers?id=WwMuAAAAIBAJ&sjid=XaEFAAAAIBAJ&pg=2171,3744052&dq=1978+asian+games&hl=en|accessdate=2010-10-09|newspaper=The Montreal Gazette|date=1978-11-22}}</ref> ซึ่งส่งผลกระทบให้นักกีฬาหลายชาติ ขอถอนตัวจากการแข่งขันครั้งนี้<ref>{{cite news|title=Indonesia, Hong Kong protest ban on Israel|url=http://news.google.com/newspapers?id=kP0NAAAAIBAJ&sjid=LHwDAAAAIBAJ&pg=6027,3304995&dq=1978+asian+games&hl=en|accessdate=2010-10-09|newspaper=St. Petersburg Times|date=1978-12-04}}</ref>
บรรทัด 37:
=== ยุคสภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย ===
{{บทความหลัก|สภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย}}
[[ไฟล์:Indian_athletes_at_the_First_Asiad.png|240px|thumb|พิธีเปิดการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ครั้งที่ 1<br/>ที่กรุงนิวเดลีของอินเดีย เมื่อปี พ.ศ. 2494]]
 
จากวิกฤตการณ์ดังกล่าว คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติในทวีปเอเชีย ตัดสินใจเปิดการประชุมร่วมกันในวันที่ [[26 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2524]] (ค.ศ. 1981) โดยไม่มีการแจ้งให้ทางอิสราเอลเข้าร่วมด้วย เพื่อยกร่างแก้ไขธรรมนูญสหพันธ์เอเชียนเกมส์ มีสาระสำคัญคือ การจัดตั้งสมาคมบริหารจัดการกีฬาเอเชียนเกมส์ขึ้นใหม่ เรียกว่า '''สภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย'''<ref>{{cite news|title=Israelis facing Asian ban|url=http://news.google.com/newspapers?id=Rr4yAAAAIBAJ&sjid=jO4FAAAAIBAJ&pg=2948,6887134&dq=asian+games+federation&hl=en|accessdate=2010-10-09|newspaper=Ottawa Citizen|date=1981-12-10}}</ref> และก่อตั้งอย่างเป็นทางการ ระหว่างการประชุมครั้งแรกของสภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย เมื่อวันที่ [[16 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2525]] (ค.ศ. 1982) ที่กรุงนิวเดลี ก่อน[[เอเชียนเกมส์ 1982|การแข่งขันครั้งที่ 9]] ซึ่งจัดขึ้นที่เมืองหลวงของอินเดียตามกำหนดเดิม โดยไม่มีการยกเลิกกำหนดการต่างๆต่าง ๆ ซึ่งสหพันธ์เอเชียนเกมส์กีฬาเอเชียจัดทำไว้แล้ว และมีสมาชิกชุดก่อตั้ง เป็นคณะกรรมการโอลิมปิกของ 34 ชาติ<ref name="history"/> จากนั้นสภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย จึงเริ่มรับหน้าที่กำกับดูแล[[เอเชียนเกมส์ 1986|เอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 10]] ซึ่ง[[โซล]]ของ[[เกาหลีใต้]]เป็นเจ้าภาพ เมื่อปี [[พ.ศ. 2529]] (ค.ศ. 1986) เป็นครั้งแรก<ref>{{cite news|title=Olympics|url=http://news.google.com/newspapers?id=ukIwAAAAIBAJ&sjid=DqUFAAAAIBAJ&pg=1683,4438561&dq=asian+games+federation&hl=en|accessdate=2010-10-09|newspaper=The Montreal Gazette|date=1981-11-28}}</ref> มาจนถึงปัจจุบัน ส่วนจีนไทเปกลับเข้าร่วมใน[[เอเชียนเกมส์ 1990|ครั้งที่ 11]] ที่[[กรุงปักกิ่ง]]ของ[[จีน]] เมื่อปี [[พ.ศ. 2533]] (ค.ศ. 1990)<ref>{{cite news|title=China welcomes Taiwan's AG trip|url=http://news.google.com/newspapers?id=_mYVAAAAIBAJ&sjid=XAsEAAAAIBAJ&pg=5130,1232701&dq=chinese+taipei+asian+games&hl=en|accessdate=2010-10-09|newspaper=Manila Standard|date=1988-07-16}}</ref>
 
ใน[[เอเชียนเกมส์ 1994|การแข่งขันครั้งที่ 12]] ซึ่งจัดขึ้นที่[[ฮิโรชิมา|นครฮิโรชิมา]]ของ[[ญี่ปุ่น]] เมื่อปี [[พ.ศ. 2537]] (ค.ศ. 1994) เป็นครั้งแรกที่มิได้จัดแข่งขันใน[[เมืองหลวง]]ของประเทศ โดย[[เครือรัฐเอกราช|กลุ่มประเทศที่แยกตัวเป็นเอกราช]]จาก[[การล่มสลายของสหภาพโซเวียต|การล่มสลายของ]][[สหภาพโซเวียต]] ซึ่งประกอบด้วย[[คาซักสถาน]], [[คีร์กีซสถาน]], [[อุซเบกิสถาน]], [[เติร์กเมนิสถาน]] และ[[ทาจิกิสถาน]] เข้าร่วมเป็นครั้งแรก<ref>{{cite web|title=第12届 1994年广岛亚运会|url=http://data.sports.163.com/match/history/0005000BBQDY.html|publisher=data.sports.163.com|accessdate=2010-10-09}}</ref> ส่วน[[อิรัก]]มิได้รับการยินยอมให้เข้าร่วม เนื่องจากเป็นชาติที่ก่อ[[สงครามอ่าวเปอร์เซีย]] เมื่อปี พ.ศ. 2533 และ[[เกาหลีเหนือ]][[การคว่ำบาตร|คว่ำบาตร]]การแข่งขัน เนื่องจากความสัมพันธ์ระหว่างประเทศที่เป็นปัญหา นอกจากนี้ยังเกิดการสูญเสียผู้แทนจาก[[ประเทศเนปาล]] ''ณเรศกุมาร์ อธิการี'' (Nareshkumar Adhikari) ซึ่งเสียชีวิตระหว่างพิธีเปิดการแข่งขัน<ref>{{cite news|title=Let the Games Begin|url=http://news.google.com/newspapers?id=QpsWAAAAIBAJ&sjid=UxMEAAAAIBAJ&pg=1694,953978&dq=1994+asian+games+kazakhstan&hl=en|accessdate=2010-10-09|newspaper=New Straits Times|date=1994-10-03}}</ref> จากนั้นในปี [[พ.ศ. 2541]] (ค.ศ. 1998) เป็นประวัติศาสตร์ของเอเชียนเกมส์ เมื่อกรุงเทพฯของไทย เป็น[[เอเชียนเกมส์ 1998|เจ้าภาพครั้งที่ 4]] โดยพิธีเปิดในสามครั้งแรก มีขึ้นในวันที่ [[9 ธันวาคม]] ส่วนครั้งนี้เปิดในวันที่ [[6 ธันวาคม|6]] แต่ทั้งหมดสิ้นสุดในวันเดียวกันคือ [[20 ธันวาคม]] และ[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]] เสด็จพระราชดำเนินเป็นประธานในพิธีเปิดทั้งสี่ครั้ง
บรรทัด 159:
== กีฬาที่จัดแข่งขัน ==
{{บทความหลัก|กีฬาในเอเชียนเกมส์}}
ตลอดระยะเวลาที่มีการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ ปรากฏว่ามีการแข่งขันกีฬาทั้งหมด 44 ชนิด ดังตารางต่อไปนี้
 
{| style="margin:auto"
บรรทัด 309:
== เหรียญรางวัลรวม ==
{{บทความหลัก|สรุปเหรียญเอเชียนเกมส์}}
ตลอดระยะเวลาของการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ ปรากฏว่าญี่ปุ่นและจีน เป็นเพียงสองชาติในประวัติศาสตร์ ที่ได้รับเหรียญรางวัลมากที่สุด ส่วนชาติที่มี 1 เหรียญทองเป็นอย่างน้อย มีจำนวน 34 ประเทศ ขณะที่มี 43 ประเทศ ได้รับ 1 เหรียญรางวัลเป็นอย่างน้อย ต่อการแข่งขันหนึ่งครั้ง โดยภูฏาน มัลดีฟส์ และติมอร์ตะวันออก เป็นเพียงสามชาติ ที่ไม่เคยได้รับแม้แต่เหรียญรางวัลเดียว ตั้งแต่เข้าแข่งขันเป็นต้นมา ซึ่งในตารางต่อไปนี้เป็น 10 อันดับของประเทศที่ได้รับเหรียญรางวัลรวม
<center>
{| {{ตารางสรุปเหรียญโอลิมปิก}}
บรรทัด 360:
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Asian games}}
* [http://www.ocasia.org สภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย]
* [http://www.ocasia.org/Game/GamesL1.aspx?9QoyD9QEWPeJ2ChZBk5tvA== ข้อมูลการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์]
 
{{เอเชียนเกมส์}}