ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สาธร (พรรณไม้)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
PAHs (คุย | ส่วนร่วม)
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับปรุง
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{taxobox
{{ตารางจำแนกพันธุ์
| image = Millettia leucantha Kurz.jpg
| name = สาธร
| image_caption =
| image = Millettia leucantha Kurz.jpg
|regnum = [[Plant]]ae
| image_caption =
|unranked_divisio = [[Angiosperms]]
| regnum = [[พืช]] ([[Plantae]])
|unranked_classis = [[Eudicots]]
| divisio = [[พืชดอก]] ([[Magnoliophyta]])
|unranked_ordo = [[Rosids]]
| classis =
| ordo = [[Fabales]]
| familia = [[Leguminosa]]-[[PapilionoideaeFabaceae]]
| genus = ''[[Millettia]]''
| species = '''''M. leucantha'''''
| binomial = ''Millettia leucantha Kurz''
| binomial_authority = Kurz
|synonyms = ''Millettia pendula'' Baker
|}}
 
'''สาธร''' ({{ชื่อวิทยาศาสตร์|Millettia leucantha}}) เป็นพันธุ์ไม้พระราชทานเพื่อปลูกเป็นมงคลของ[[จังหวัดนครราชสีมา]]
 
== ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ==
* '''ชื่อวิทยาศาสตร์:''' Millettia leucantha Kurz
สาธรเป็นไม้ที่พบขึ้นในป่าเบญจพรรณใกล้แหล่งน้ำทั่ว ๆ ไปในพื้นที่ที่สูงจากระดับน้ำทะเลไม่เกิน 600 เมตร เป็นไม้ต้นขนาดกลางผลัดใบ สูง 18-20 เมตร เรือนยอดกลมหรือทรงกระบอก เปลือกต้นสีเทาเรียบหรือแตกเป็นสะเก็ดเล็ก ๆ ตื้น ๆ เนื้อไม้สีขาวอมน้ำตาล แก่นสีน้ำตาลอมดำ เรือนยอดเป็นพุ่มทึบ ใบอ่อนและยอดอ่อนมีขนยาวอ่อนนิ่มคล้ายเส้นไหมปกคลุมอยู่ ใบเป็นใบประกอบรูปขนนกเรียงสลับ ใบย่อยติดเป็นคู่ตรงกันข้าม 3-5 คู่ ปลายสุดเป็นใบเดี่ยวแผ่นใบย่อย รูปรี กว้าง 3-5.5 เซนติเมตร ยาว 5-12 เซนติเมตร ปลายแหลม โคนมน ด้านล่างใบสีอ่อนกว่าด้านบน ใบแก่เกลี้ยง ดอกออกเป็นช่อกระจายแยกแขนงสีขาว ยาวประมาณ 20 เซนติเมตร ออกพร้อมใบอ่อน รูปดอกถั่ว กลีบดอก 5 กลีบ กลีบเลี้ยง 4 กลีบติดกันเป็นหลอดสั้น ออกรวมกันเป็นช่อตามง่ามใบและปลายกิ่ง ออกดอกช่วงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม ผลเป็นฝักแบน รูปขอบขนานคล้ายฝักมีด มีเปลือกแข็ง กว้างประมาณ 2 เซนติเมตร ยาว 4-10 เซนติเมตร ฝักแก่แตกเป็น 2 ซีก ฝักหนึ่ง ๆ มี 1-3 เมล็ด เมล็ดสีน้ำตาล รูปร่างแบนคล้ายโล่ เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.3 เซนติเมตร ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด
* '''วงศ์:''' Leguminosa-Papilionoideae
 
* '''ชื่ออื่น:''' ขะเจ๊าะ กะเซาะ ขะแมบ กระเจา ขะเจา
== ประโยชน์ ==
* '''ลักษณะ:''' ไม้ต้นขนาดกลาง ผลัดใบ สูง 18 - 20 เมตร เรือนยอดกลมหรือทรงกระบอก
* '''ประโยชน์:''' เนื้อไม้และแก่นมีลักษณะสวยงามใช้ในการก่อสร้าง ใช้ทำเครื่องเรือน และด้ามเครื่องมือเครื่องใช้ เช่น เสาเรือน ขื่อ รอด เพลา เกวียน เครื่องนอน ครก สาก
* '''เปลือก:''' สีเทาเรียบหรือแตกเป็นสะเก็ดแล็ก ๆ ตื้น ๆ เนื้อไม้สีขาวอมน้ำตาล แก่นสีน้ำตาลอมดำ เรือนยอดเป็นพุ่มทึบ ใบอ่อนและยอดอ่อนมีขนยาวอ่อนนิ่มคล้ายเส้นไหมปกคลุมอยู่
* '''ใบ:''' ประกอบรูปขนนกเรียงสลับ ใบย่อยติดเป็นคู่ตรงกันข้าม 3 - 5 คู่ ปลายสุดเป็นใบเดี่ยวแผ่นใบย่อย รูปรี กว้าง 3 - 5.5 เซนติเมตร ยาว 5 - 12 เซนติเมตร ปลายแหลม โคนมน ด้านล่างใบสีอ่อนกว่าด้านบน ใบแก่เกลี้ยง
* '''ดอก:''' ดอกช่อ สีขาว แบบช่อกระจายแยกแขนง ยาวประมาณ 20 ซม. ออกพร้อมใบอ่อน รูปดอกถั่ว กลีบดอก 5 กลีบ กลีบเลี้ยง 4 กลีบติดกันเป็นหลอดสั้น ออกรวมกันเป็นช่อตามง่ามใบและปลายกิ่ง
* '''ผล:''' เป็นฝักแบน รูปขอบขนานคล้ายฝักมีด มีเปลือกแข็ง กว้างประมาณ 2 เซนติเมตร ยาว 4 - 10 เซนติเมตร ฝักแก่แตกเป็น 2 ซีก ฝักหนึ่ง ๆ มี 1 - 3 เมล็ด เมล็ดสีน้ำตาล รูปร่างแบนคล้ายโล่ เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1.3 เซนติเมตร
* '''นิเวศวิทยา:''' พบขึ้นในป่าเบญจพรรณใกล้แหล่งน้ำทั่ว ๆ ไป ในพื้นที่ที่สูงจากระดับน้ำทะเลไม่เกิน 600 เมตร
* '''ออกดอก:''' มีนาคม - พฤษภาคม ฝักแก่ พฤษภาคม - สิงหาคม
* '''ขยายพันธุ์:''' เพาะเมล็ด ควรนำเมล็ดแช่น้ำประมาณ 1 คืน ก่อนนำไปเพาะ เมล็ดงอกใช้เวลาประมาณ 10 - 15 วัน
* '''ประโยชน์:''' เนื้อไม้และแก่นมีลักษณะสวยงามใช้ในการก่อสร้าง ใช้ทำเครื่องเรือน และด้ามเครื่องมือเครื่องใช้ เช่น เสาเรือน ขื่อ รอด เพลา เกวียน เครื่องนอน ครก สาก
* '''ถิ่นกำเนิด:''' ในไทยทางภาคกลาง ภาคเหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ ต่างประเทศพบที่พม่าและลาว
 
==อื่นๆ==