ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กลุ่มภาษาเซมิติก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘จงอย’ ด้วย ‘จะงอย’
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Amarna Akkadian letter.png|thumb|200px|จดหมายของอมาร์นา เขียนด้วย [[ภาษาอัคคาเดีย]]]]
 
'''กลุ่มภาษาเซมิติก''' ({{lang-en|Semitic languages}}) เป็นกลุ่มของภาษาที่มีผู้พูดมากกว่า 300 ล้านคนในปริเวณ[[แอฟริกาเหนือ]] [[ตะวันออกกลาง]]และ[[จะงอยของแอฟริกา]] เป็นสาขาย่อยใน[[ตระกูลภาษาแอฟโฟร-เอเชียโฟรเอชีแอติก]] และเป็นสาขาเดียวของตระกูลนี้ที่มีผู้พูดใน[[ทวีปเอเชีย]] กลุ่มภาษาเซมิติกที่มีผู้พูดมากที่สุดคือ[[ภาษาอาหรับ]] (ภาษาแม่ 325 ล้านคน) รองลงมาคือ[[ภาษาอัมฮารา]] (27 ล้านคน) [[ภาษาตึกรึญญา]] (6.9 ล้านคน) และ[[ภาษาฮีบรู]] (5 ล้านคน)
 
กลุ่มภาษาเซมิติกเป็นกลุ่มภาษาแรกๆ ที่มี[[ระบบการเขียน]] [[ภาษาอัคคาเดีย]]เริ่มเขียนตั้งแต่ราว 2,000 ปีก่อนพุทธศักราช นอกจากนั้นยังมีอักษรโบราณที่ใช้เขียนกลุ่มภาษาเซมิติกมากมาย เช่น [[อักษรฟินิเชีย]] [[อักษรอาหรับ]] [[อักษรอราเมอิก]] [[อักษรซีเรียคซีรีแอก]] [[อักษรอาระเบียใต้]] และ[[อักษรเอธิโอปิก]] มี[[ภาษามอลตา]]เท่านั้นที่เป็นกลุ่มภาษานี้แต่เขียนด้วย[[อักษรโรมัน]] ชื่อของกลุ่มภาษานี้มาจาก เซม บุตรชายของ[[โนอาห์]] ใน[[ไบเบิล]]
 
== ประวัติ ==
=== จุดกำเนิด ===
[[ไฟล์:Targum.jpg|left|thumb|200px|พระคัมภีร์ไบเบิลภาษาฮีบรู]]
กลุ่มภาษาเซมิติกเป็นสมาชิกของตระกูลภาษาแอฟโฟร-เอเชียโฟรเอชีแอติก โดยเป็นสาขาเดียวที่อยู่ใน[[ทวีปเอเชีย]] ส่วนสาขาอื่นอบู่ใน[[ทวีปแอฟริกา]] จากเหตุผลนี้จึงเชื่อว่าบรรพบุรุษของผู้พูด[[ภาษาเซมิติกดั้งเดิม]]เป็นกลุ่มชนที่ออกจากแอฟริกามาสู่ตะวันออกกลาง อาจจะเป็นผู้มาจาก[[ทะเลทรายสะฮารา]] <ref>[http://www.sciencemag.org/cgi/content/citation/306/5702/1680c The Origins of Afroasiatic – Ehret et al. 306 (5702): 1680c – Science<!-- Bot generated title -->]</ref><ref>{{cite journal| first=Daniel F. |last=McCall |url=http://links.jstor.org/sici?sici=0011-3204%28199802%2939%3A1%3C139%3ATALPAI%3E2.0.CO%3B2-J&size=LARGE |title=The Afroasiatic Language Phylum: African in Origin, or Asian? |journal=Current Anthropology |volume=39 |year=1998 |pages=139–44| issue=1| doi=10.1086/204702}}.</ref> แต่ก็มีทฤษฎีว่าผู้พูดภาษาแอฟโฟร-เอเชียโฟรเอชีแอติกดั้งเดิมอยู่ในตะวันออกกลางและผู้พูดภาษาเซมิติกเป็นกลุ่มเดียวที่เหลืออยู่
[[ไฟล์:Ethiopic genesis.jpg|200px|thumb|right|ไบเบิลเขียนด้วย[[ภาษากิเอซ]] (เอธิโอเปีย)]]
ผู้พูดภาษาเซมิติกดั้งเดิมคาดว่าเป็นผู้ที่มาถึง[[คาบสมุทรอาระเบีย]]เมื่อราว 3,457 ปีก่อนพุทธศักราช จากนั้นภาษาลูกหลานในกลุ่มเซมิติกได้แพร่กระจายออกไป หลักฐานการเขียนเริ่มพบเมื่อราว 2,957 ปีก่อนพุทธศักราช เมื่อผู้พูด[[ภาษาอัคคาเดีย]]และ[[ภาษาอโมไรต์]]เข้าสู่[[เมโสโปเตเมีย]]และอาจจะเคยอยู่ในสถานที่ เช่น เอบลาใน[[ซีเรีย]]
บรรทัด 15:
 
หลักฐานในช่วงนี้มิไม่มากนัก ที่พอมีบ้างคือตัวอักษร [[อักษรคานาอันไนต์]]เป็นอักษรชนิดดแรกของกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกที่ใช้เมื่อราว 957 ปีก่อนพุทธศักราช และ[[อักษรยูการิติก]]ที่ใช้ในทางเหนือของซีเรียในอีก 200 ปีต่อมา ส่วนภาษาอัคคาเดียพัฒนาต่อมาเป็นสำเนียงบาบิโลเนียและอัสซีเรีย
[[ไฟล์:Estrangela.jpg|right|thumb|200px|เอกสารเขียนด้วย[[ภาษาซีเรียคซีรีแอก]] ]]
 
=== 500 ปีก่อนพุทธศักราช ===
บรรทัด 22:
=== พุทธศตวรรษที่ 6 เป็นต้นมา ===
[[ไฟล์:AndalusQuran.JPG|thumb|right|200px|คัมภีร์[[อัลกุรอ่าน]]ภาษาอาหรับอายุราวพุทธศตวรรษที่ 17]]
[[ภาษาซีเรียคซีรีแอก]]ซึ่งเป็นลูกหลานของภาษาอราเมอิกใช้ใน[[เลอวานต์]]ตอนเหนือและเมโสโปเตเมีย กลายเป็นภาษาเขียนของชาวคริสต์ในพุทธศตวรรษที่ 8-10จนถึงยุคสมัยของ[[ศาสนาอิสลาม]]
 
ในยุคของศาสนาอิสลามราวพุทธศตวรรษที่ 12 ภาษาอาหรับเข้ามาเป็นภาษากลางแทนที่ภาษาอราเมอิกและแพร่หลายไปถึง[[สเปน]]และ[[เอเชียกลาง]] กลายเป็นภาษาเขียนที่สำคัญในสมัยกาหลิบ และกลายเป็นภาษาสำคัญในตะวันออกกลางและอียิปต์ เมื่อ[[อาณาจักรนูเบีย]]ล่มสลาย ภาษาอาหรับได้แพร่หลายไปยังอียิปต์ภาคใต้จนถึง[[มอริตาเนีย]]
บรรทัด 31:
ภาษาอาหรับมีผู้ใช้เป็นภาษาแม่เป็นส่วนใหญ่ตั้งแต่มอริตาเนียไปถึง[[โอมาน]]และจากอิรักไปถึง[[ซูดาน]] และยังใช้เป็นภาษาทางศาสนาของชาว[[มุสลิม]]ที่ไม่ได้พูดภาษาอาหรับเป็นภาษาแม่ด้วย ภาษาอาหรับที่เป็นภาษาพูดมีหลากหลายสำเนียงแต่ที่เป็นภาษาเขียนมีแบบเดียว ภาษามอลตาซึ่งเป็นลูกหลานของภาษาอาหรับสำเนียงแอฟริกาเหนือเป็นภาษาเดียวที่เขียนด้วยอักษรโรมัน นอกจากภาษาอาหรับที่เป็นภาษาหลักในตะวันออกกลางแล้ว ยังพบกลุ่มภาษาเซมิติกอื่นๆอีก ภาษาฮีบรูเป็นภาษาที่ตายไปเป็นเวลานานและใช้เป็นภาษาทางศาสนาของชาวยิวเท่านั้น กลายมาเป็นภาษาพูดอีกครั้งในพุทธศตวรรษที่ 24 โดย[[ขบวนการไซออนนิสต์]]เป็นผู้ฟื้นฟูภาษานี้ขึ้นมาใหม่และกลายเป็นภาษาหลักของประเทศอิสราเอล
 
กลุ่มชนชาติส่วนน้อยขนาดเล็กหลายกลุ่มเช่น[[ชาวคริสต์อัสซีเรีย]]ยังคงใช้สำเนียงของภาษาอราเมอิกโดยเฉพาะ[[ภาษาอราเมอิกใหม่]]ที่มาจากภาษาซีเรียคซีรีแอก ในเขตภูเขาของ[[อิรัก]]ภาคเหนือ [[ตุรกี]]ตะวันออก และ[[ซีเรีย]]ตะวันออกเฉียงเหนือ ในขณะที่ภาษาซีเรียคซีรีแอกที่เป็นลูกหลานของภาษาอราเมอิกโบราณใช้เป็นภาษาทางศาสนาของชาวคริสต์ในซีเรียและอิรัก
 
ใน[[เยเมน]]และโอมานซึ่งอยู่ทางใต้ของ[[คาบสมุทรอาระเบีย]]ยังมีชนเผ่าพูด[[ภาษาอาระเบียใต้สมัยใหม่]]เช่นภาษามาห์รีและภาษาโซโกตรีซึ่งแตกต่างจากภาษาอาหรับที่ใช้พูดในบริเวณนั้นอย่างชัดเจน และอาจจะมาจากภาษาที่เขียนในจารึกอักษรอาระเบียใต้หรือลูกหลานของภาษาเหล่านั้น
บรรทัด 46:
กลุ่มภาษาเซมิติกส่วนใหญ่มี 3 จำนวนคือเอกพจน์ ทวิพจน์ และพหูพจน์ ทวิพจน์ยังใช้อยู่ในภาษาอาหรับบางสำเนียงเช่นชื่อประเทศบาห์เรน (bahr "[[ทะเล]]" + -ayn "สอง") และในภาษาฮีบรู เช่น šana หมายถึง 1 ปี šnatayim หมายถึง 2 ปี และ šanim หมายถึงหลายปี และในภาษามอลตา sena หมายถึง 1 ปี sentejn หมายถึง 2 ปี และ snin หมายถึงหลายปี การทำให้เป็นพหูพจน์โดยการแทรกเสียงสระลงไป เช่น sadd เขื่อน 1 แห่ง sudūd เขื่อนหลายแห่ง พบในภาษาอาหรับและภาษาเอธิโอเปีย รวมทั้งภาษามอลตา จึงน่าจะเป็นส่วนหนึ่งของภาษาเซมิติกดั้งเดิม
=== มาลาและกาล ===
ระบบมาลาของกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกและตะวันออกต่างกันชัดเจน ภาษาอัคคาเดียรักษาลักษณะซึ่งพบโดยทั่วไปในกลุ่มภาษาแอฟโฟร-เอเชียโฟรเอชีแอติก ภาษาเซมิติกตะวันตกดั้งเดิมมี 2 มาลา คือสมบูรณ์สำหรับการกระทำที่สมบูรณ์และไม่สมบูรณ์ใช้กับการกระทำที่เกิดไม่สมบูรณ์ ในกรณีพิเศษของภาษาอราเมอิกใหม่มีการรวมคำกริยาซึ่งได้รับอิทธิพลจากกลุ่มภาษาอิหร่าน
 
=== รากศัพท์พยัญชนะสามตัว ===
บรรทัด 221:
**** [[ภาษาอราเมอิกไบเบิล]]
**** [[ภาษาอราเมฮอิกาตรัน]] - ตายแล้ว
**** [[ภาษาซีเรียคซีรีแอก]] - ยังมีสำเนียงเหลืออยู่
**** [[ภาษาอราเมอิกบาบิโลเนียยุคกลางของชาวยิว]] - ตายแล้ว
**** [[ภาษาอราเมอิกใหม่คัลเดีย]] - ยังมีสำเนียงเหลืออยู่
บรรทัด 305:
 
[[หมวดหมู่:กลุ่มภาษาเซมิติก|กลุ่มภาษาเซมิติก]]
[[หมวดหมู่:ตระกูลภาษาแอฟโฟร-เอเชียโฟรเอชีแอติก|ซ]]