ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าฟ้า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
'''เจ้าฟ้า''' หรือ '''ซอ-บวา''' ({{lang-my|စော်ဘွား}}) เป็นพระราชบรรดาศักดิ์ที่ใช้เรียกเจ้าผู้ครอง[[กลุ่มรัฐฉาน|แคว้นต่าง ๆ ของชาวไทใหญ่]] (บริเวณภาคตะวันออกของ[[ประเทศพม่า]]ปัจจุบัน) นอกจากนี้ยังใช้กับผู้ปกครองแคว้นไทถิ่นอื่นในประเทศข้างเคียงด้วย ที่สำคัญเช่นใน[[มณฑลยูนนาน]]ของจีน<ref name="HD">{{Cite book |author=Donald M. Seekins |title=Historical Dictionary of Burma (Myanmar) |publisher=Scarecrow Press |year=2006 |at=entry ''Sawbwa'', p. 391}}</ref> คำ "ซอ-บวา" ตรงกับคำ "[[เจ้าฟ้า]]" ในภาษาไทย
 
ตามพงศาวดารท้องถิ่น บางราชวงศ์ที่มีซอ-บวาเจ้าฟ้ามีอายุย้อนไปถึงศตวรรษที่ 2 ก่อนคริสตกาล แต่นักประวัติศาสตร์ทั่วไปมีความเห็นตรงกันว่าส่วนแรก ๆ ของพงศาวดารเหล่านี้เป็นเพียงตำนาน<ref>
{{cite web
|url=https://muse.jhu.edu/demo/sojourn_journal_of_social_issues_in_southeast_asia/v021/21.1laungaramsri.html
บรรทัด 13:
</ref>
 
ในช่วงที่พม่าเป็นอาณานิคมของสหราชอาณาจักร มีซอ-บวาเจ้าฟ้าชาวไทใหญ่ 14 ถึง 16 พระองค์ในขณะนั้น แต่ละพระองค์ทรงมีอำนาจปกครองแว่นแคว้นของตนเองอย่างสูง จนถึงปี พ.ศ. 2465 มีการก่อตั้ง[[สหพันธรัฐฉาน]] อำนาจของซอ-บวาเจ้าฟ้าจึงถูกลดลง อย่างไรก็ตาม ซอ-บวาเจ้าฟ้าทั้งหมดยังทรงรักษาฐานะในนามไว้ได้เช่นเดียวกับราชสำนักและยังทรงมีบทบาทในการปกครองส่วนท้องถิ่น จนกระทั่งร่วมกันสละบรรดาศักดิ์เพื่อเข้าร่วม[[สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า (พ.ศ. 2491–2505)|สหภาพพม่า]]ในปี พ.ศ. 2502<ref name="HD"/>
 
== อ้างอิง ==