ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อิเล็กทริกไลต์ออร์เคสตรา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับปรุงบางส่วน
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล นักดนตรี
| ชื่อ = Electric Light Orchestraอีเล็กทริกไลท์ออร์เคสตรา<br />ELO
| color =
| ประเภท =วงดนตรี
บรรทัด 14:
| แหล่งกำเนิด = [[เบอร์มิงแฮม]] [[ประเทศอังกฤษ]]
| เครื่องดนตรี =
| แนวเพลง = [[โปรเกรสซีฟร็อก]] [[ซิมโฟนิกร็อก]] Pop RocK, Disco
| อาชีพ =
| ช่วงปี = 1970–1983<br />1985–1986<br, />2000–2001, 20012012–ปัจจุบัน
| ค่าย = Harvest, Warner Bros., United Artists, Jet, Columbia, Epic, Legacy, Sony BMG
| ส่วนเกี่ยวข้อง =
| เว็บ = http://www.elomusicjefflynneselo.com/
| สมาชิก =
| อดีตสมาชิก =
บรรทัด 25:
}}
 
'''อีเล็กทริกไลท์ออร์เคสตรา''' ({{lang-en|Electric Light Orchestra}}) หรือ '''อีแอลโอ''' '''(ELO)''' เป็นกลุ่มดนตรีซิมโฟนิกร็อกสัญชาติอังกฤษ มีผลงานสตูดิโออัลบัมจำนวน 11 ชุดระหว่างปี 1971 ถึง 1986 และอัลบัมที่ 12 ในปี 2001 ก่อตั้งโดย[[รอย วูด]]และ[[เจฟฟ์ ลินน์]] เพื่อสร้างผลงานเพลงร็อคร็อกผสมผสานกับเครื่อง[[ดนตรีคลาสสิก]] คือ[[เชลโล]] [[ไวโอลิน]] และ[[เครื่องเป่า]] ก่อนที่รอย วูด จะขัดแย้งกับ เจฟฟ์ ลินน์จากความคิดเห็นแนวดนตรีไม่ตรงกันทำให้ ทำให้รอย วูด ออกไปตั้งคณะวิซซาร์ด (Wizzard) เล่นแนว Classical Rock คลาสสิกร็อกและทำให้ เจฟฟ์ ลินน์ลินน์ยึด ยึด"อีแอลโอ" โดยเบ็ดเสร็จตั้งแต่ชุด ELO 2 ในปี 1973 โดยเจฟฟ์ ลินน์ ทั้งแต่งเพลง เล่นกีตาร์ เปียนโนเปียโน เรียบเรียง และร้องเอง รวมถึงการเป็นโปรดิวเซอร์
 
ELO ได้รับอิทธิพลมาจากผลงานของ[[เดอะบีตเทิลส์]] โดยเจฟฟ์ ลินน์ ตั้งใจจะให้อีแอลโอทำดนตรี "สานต่อจากแนวทางของเดอะบีตเทิลส์" จนได้รับความนิยมใน[[ประเทศอังกฤษ]]ด้วยเพลงเก่าของ Chuck Berry (Roll over Bethoven) (1972) ก่อนจะเริ่มได้รับความนิยมตามมาใน[[สหรัฐอเมริกา]]จากเพลง "Show down" (On the Third Day) อีแอลโอ ประสบความสำเร็จสูงสุดช่วงกลางทศวรรษ 1970 จนถึงปี 1980 มีผลงานติดอันดับท็อป 40 ในสหรัฐอเมริกาและอังกฤษทั้งสิ้น 27 ซิงเกิล ทั้งยังถือสถิติเป็นศิลปินที่มีซิงเกิลติดอันดับฮอต 100 และ ทอป 40 มากที่สุด โดยไม่มีซิงเกิลใดเคยขึ้นถึงอันดับหนึ่งเลย
 
ในยุคหลังปี 1980 ก่อนการสลายวง เจฟฟ์ ลินน์ พยายามตัดเครืองดนตรีซิมโฟนิก ซึ่งเป็นเครื่องสายออกจากงานของอีแอลโอ และนำเครื่องดนตรี[[เครื่องสังเคราะห์เสียง|ซินเทอร์ไชนทีไซเซอร์]]มาแทนที่เพื่อทดลองงานรูปแบบ pop rock และ discoป็อปร็อกและดิสโก จนเหลือสมาชืกในวงเพียง 4 คน โดยผลงานชุดสุดท้ายก่อนสลายวงในปี 1986 ได้แก่อัลบั้ม ''Balance of Power'' หลังจากนั้น 15 ปีต่อมา เจฟฟ์ ลินน์ กลับมาทำอัลบั้ม "Zoom" (2001) ซึ่งมีแนวเพลงกลับไปเหมือนยุคแรกของวง โดยมีสมาชิกดั้งเดิมคือ Richard Tandy มือคีย์บอร์ดและมีศิลปินรับเชิญเป็นอดีตสมาชิกเดอะบีตเทิลส์ ได้แก่ จอร์ช แฮริสัน[[จอร์จ แฮร์ริสัน]]และ [[ริงโก สตาร์]] ล่าสุดในปี 2015 เจฟฟ์ ลินน์ ได้ออกผลงานใหม่ในเดือนตุลาคม 2012 อัลบั้มอัลบัม "LongAlone Wave"in และthe Universe"Mr. Blueโดยใช้ชื่อวงว่า sky"ซึ่งเป็นการนำเพลงเก่าของศิลปินที่เจฟฟ์Jeff ชื่นชอบ และ เพลงฮิตของLynne's ELO มาบันทึกใหม่ในสไตล์ของเขา
 
ชื่อ "อีเล็กทริกไลท์ออร์เคสตรา" เป็นการเล่นคำระหว่าง ''Electric Light'' หรือ หลอดนีออนเรืองแสง ที่ปรากฏบนภาพปกอัลบัม และ[[โลโกโลโก้]]ของวงในยุคแรก เลียนแบบหลอดไฟตกแต่ง[[ตู้เพลง]]ยี่ห้อ[[วูร์ลิทเซอร์]] (Wurlitzer jukebox) รุ่นปี 1946 ผสมกับคำว่า ''Light Orcherstra'' หมายถึง[[วงออร์เคสตรา]]ขนาดเล็ก ที่ใช้[[ไวโอลิน]]และ[[เชลโล]]เป็นเครื่องดนตรี
 
== ผลงาน ==
;สตูดิโออัลบัม
* ''The Electric Light Orchestra'' (UK) / ''No Answer'' (US) (1971/1972)
* ''ELOThe 2Electric Light Orchestra'' (UK1971) /– ในชื่อ The ''Electric Light Orchestra II'' / ''ELO II'' (US) (1973)
* ''ELO 2'' (1973) – ในชื่อ The Electric Light Orchestra
* ''On the Third Day'' (1973)
* ''Eldorado, A Symphony by the Electric Light Orchestra'' (1974)
* ''Face the Music'' (1975)
* ''A New World Record'' (1976)
* ''Out of the Blue'' (1977)
* ''Discovery'' (19801979)
* ''Xanadu'' (1980)
* ''Time'' (1981) – ในชื่อ ELO
* ''Secret Messages'' (1983)
* ''Balance of Power'' (1986)
* ''Zoom'' (2001)
* ''Alone in the Universe'' (2015) – ในชื่อ Jeff Lynne's ELO
* ''Long Wave''(2012)
* ''Mr.Blue sky''(Re-Master Hit)(2012)
 
==== อ้างอิง ====
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Electric Light Orchestra}}
{{รายการอ้างอิง}}
 
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Electric Light Orchestra}}
 
[[หมวดหมู่:กลุ่มดนตรีร็อกสัญชาติอังกฤษ]]