ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาวะธำรงดุล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
AlphamaBot (คุย | ส่วนร่วม)
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
'''ภาวะธำรงดุล''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: Homeostasis) หรือ การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต คือ[[คุณสมบัติ]]ของ[[ระบบเปิด]]โดยเฉพาะใน[[สิ่งมีชีวิต]] ที่ทำการควบคุมสภาพภายในตนเองเพื่อรักษาสถานะเสถียรภาพสภาพอย่างคงที่ โดยการปรับ[[สมดุลพลวัต]]หลายอย่างซึ่งมีกลไกการควบคุมที่มีความสัมพันธ์กันมากมาย
 
แนวคิดนี้ถูกพูดถึงครั้งแรกในปี พ.ศ. 2408 โดย[[โกลด แบร์นาร์]] นัก[[สรีรวิทยา]]ชาวฝรั่งเศส และ[[วอลเตอร์ แบรดฟอร์ด แคนนอน]] (Walter Bradford Cannon) นัก[[สรีรวิทยา]]ชาวอเมริกันเป็นผู้บัญญัติศัพท์คำนี้ขึ้นในปี พ.ศ. 2475 เป็นศัพท์ที่มาจาก[[ภาษากรีก]] โดย ''homo'' แปลว่าความเหมือนหรือคล้ายคลึงกัน และ ''stasis''2469<ref>{{cite ที่แปลว่าความเสถียรbook
|language=fr
|first=W. B.
|last=Cannon
|chapter=Physiological regulation of normal states: some tentative postulates concerning biological homeostatics
|editor=A. Pettit(ed.)
|title=A Charles Richet : ses amis, ses collègues, ses élèves
|pages=91
|publisher=Paris: Les Éditions Médicales
|year=1926
}}</ref> เป็นศัพท์ที่มาจาก[[ภาษากรีก]] โดย ''homo'' แปลว่าความเหมือนหรือคล้ายคลึงกัน และ ''stasis'' ที่แปลว่าความเสถียร
 
== ความหมายทั่วไป ==
เส้น 22 ⟶ 32:
 
สังเกตว่าในขณะที่สิ่งมีชีวิตนั้นแสดงให้เห็นถึงภาวะสมดุลในตัว แต่สถานะทางสรีรวิทยาของสิ่งมีชีวิตไม่มีความจำเป็นต้องมีความเสถียร สิ่งที่มีชีวิตหลายชนิดแสดงให้เห็นความเปลี่ยนแปลงภายในร่างกายในรูปแบบของ[[การเต้นของหัวใจ]] ในช่วงเวลาที่ร่างกายทำงานมา 20 ถึง 28 ชั่วโมง อุลตราเดียนช่วงเวลาน้อยกว่า 20 ชั่วโมง และอินฟราเดียนในช่วงเวลามากกว่า 28 ชั่วโมง ด้วยเหตุนี้แม้ว่าร่างกายจะอยู่ในภาวะธำรงดุล แต่อุณหภูมิของร่างกาย [[ความดันโลหิต]] อัตราการเต้นของหัวใจ และตัวชี้วัดของกระบวนการสร้างและสลายจะไม่อยู่ในระดับคงที่ไปตลอดแต่จะผกผันและคาดเดาไม่ได้อยู่ตลอดเวลา
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:สรีรวิทยา]]
เส้น 28 ⟶ 41:
[[หมวดหมู่:ทฤษฎีระบบ]]
{{โครงชีววิทยา}}
 
[[lt:Savireguliacija]]