ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หอยหลอด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Solen strictus.jpg|thumb|240px|หอยหลอดชนิด ''Solen strictus'']]
'''หอยหลอด''' ({{lang-en|razor clam, razor shell}}) เป็นชื่อสามัญของหอยทะเลกาบคู่หลายชนิดในวงศ์ [[Solenidae]]<ref>ราชบัณฑิตยสถาน. ''พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔.'' กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า 1313.</ref> เปลือกประกบกันเป็นรูปทรงกระบอกชนิดที่พบใน[[ไทย]]ได้แก่ มีช่องเปิดทั้งด้านหน้าและด้านท้าย''[[Solen มีสีเขียวbrevis]]'', เขียวอมเหลือง''[[Solen น้ำตาลอมเหลืองcorneus|S. ฝังตัวอยู่ใต้พื้นที่เป็นโคลนcorneus]]'', เช่น''[[Solen ชนิดgrandis|S. grandis]]'', ''[[Solen exiguus|S. exiguus]]'', ''[[Solen malaccensis|S. malaccensis]]'', ''[[Solen regularis|S. regularis]]'', เป็นต้น''[[Solen strictus|S. strictus]]'' และ ''[[Solen thailandicus|S. thailandicus]]'' ในสกุล ''[[Solen]]''
 
== ถิ่นที่อยู่ ==
บริเวณที่มีหอยหลอดเป็นจำนวนมากใน[[ประเทศไทย]]คือ[[ดอนหอยหลอด]] [[จังหวัดสมุทรสงคราม]] นอกจากที่ดอนหอยหลอดแล้ว ยังอาศัยอยู่ที่[[จังหวัดเพชรบุรี]], [[จังหวัดสมุทรปราการ]], [[จังหวัดตราด]], [[จังหวัดสตูล]] เป็นต้น<ref>{{cite web|url=http://news.ch7.com/detail/103478/%E0%B9%81%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%82%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B9%87%E0%B8%9A%E0%B8%AB%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%88%E0%B8%B3%E0%B8%9B%E0%B8%B5_%E0%B8%88.%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%B9%E0%B8%A5.html|title=แข่งขันเก็บหอยหลอดประจำปี จ.สตูล|date=8 January 2015|accessdate=10 January 2015|publisher=ช่อง 7}}</ref> รวมไปถึง[[ประเทศอินโดนีเซีย]]และ[[ออสเตรเลีย]]<ref>[http://www.marinespecies.org/aphia.php?p=taxdetails&id=413505 ''Solen regularis'' Dunker, 1862 {{en}}]</ref>
หอยหลอดจะฝังตัวตามแนวดิ่งในตะกอนดินโคลนปนทรายบริเวณปากแม่น้ำที่ชาวบ้านเรียกว่า "ทรายขี้เป็ด" บริเวณที่มีหอยหลอดเป็นจำนวนมากใน[[ไทย]]คือ[[ดอนหอยหลอด]] [[จังหวัดสมุทรสงคราม]] นอกจากที่ดอนหอยหลอดแล้ว ยังพบตามชายฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามันของจังหวัดอื่นด้วย<ref>{{cite web|url=http://news.ch7.com/detail/103478/%E0%B9%81%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%82%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B9%87%E0%B8%9A%E0%B8%AB%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%88%E0%B8%B3%E0%B8%9B%E0%B8%B5_%E0%B8%88.%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%B9%E0%B8%A5.html|title=แข่งขันเก็บหอยหลอดประจำปี จ.สตูล|date=8 January 2015|accessdate=10 January 2015|publisher=ช่อง 7}}</ref> โดยหอยหลอดชนิด ''S. corneus'', ''S. malaccensis'', ''S. regularis'', ''S. strictus'' และ ''S. thailandicus'' พบมากที่จังหวัดตราด จันทบุรี สมุทรปราการ [[สมุทรสาคร]] สมุทรสงคราม เพชรบุรี; หอยหลอดชนิด ''S. brevis'' พบมากที่[[จังหวัดตรัง]] ส่วนหอยหลอดชนิด ''S. grandis'' และ ''S. exiguus'' พบที่จังหวัดสตูล แต่มีปริมาณน้อย
 
== ลักษณะ ==
การจับหอยหลอดจะใช้ปูนขาวหยอดลงในรู ทำให้หอยโผล่ขึ้นมาให้จับได้ง่าย ช่วงที่เหมาะสำหรับการจับมากที่สุดคือเดือนมกราคม-พฤษภาคม เพราะตอนกลางวันน้ำจะลดลงมากทำให้[[สันดอน]]โผล่พ้นน้ำ เนื้อหอยหลอดนำมาประกอบอาหารได้หลายประเภท ทั้งทอดกรอบ ต้มยำ และผัดฉ่า<ref>[http://www.manager.co.th/Travel/ViewNews.aspx?NewsID=9480000080662 จับจาก“รู” มาสู่เมนูจานเด็ด ชีวิตกลางแจ้งของ“คนหาหอยหลอด” จากผู้จัดการออนไลน์]</ref>
เปลือกคล้ายใบมีดโกนบาง มีสีเขียว เขียวอมเหลือง หรือน้ำตาลอมเหลือง ประกบกันเป็นรูปทรงกระบอกแต่ไม่สนิท ยังมีช่องเปิดทั้งด้านหน้าและด้านท้าย มีเอ็นยึดฝาทั้งสองและมีฟัน 2-3 ซี่ มีเท้าเป็นแท่งกลมใหญ่อยู่ที่ส่วนปลายด้านหนึ่ง และมีท่อน้ำเข้าและท่อน้ำออกอยู่ที่ส่วนปลายของอีกด้านหนึ่ง
 
ขนาดของหอยหลอดแตกต่างกันไปตามชนิด เช่น ชนิด ''S. grandis'' มีความยาวสูงสุด 15 เซนติเมตร; ชนิด ''S. strictus'' มีความยาวสูงสุด 8 เซนติเมตร แต่มีความกว้างน้อยกว่าชนิด ''S. corneus'' ซึ่งมีความยาวสูงสุด 6 เซนติเมตร; ชนิด ''S. brevis'' มีความยาวสูงสุด 7 เซนติเมตร; ชนิด ''S. regularis'' มีความยาวสูงสุด 5 เซนติเมตร; ชนิด ''S. thailandicus'' มีความยาวสูงสุด 4.5 เซนติเมตร และหอยหลอดที่ยังจำแนกอนุกรมวิธานไม่ได้ (''Solen'' sp.) บางชนิดมีความยาวสูงสุด 2.5 เซนติเมตร
 
== การใช้ประโยชน์ ==
เนื้อหอยหลอดนำมาประกอบอาหารได้หลายประเภท ทั้งทอดกรอบ ต้มยำ ผัดกะเพรา และผัดฉ่า<ref>[http://www.manager.co.th/Travel/ViewNews.aspx?NewsID=9480000080662 จับจาก“รู” มาสู่เมนูจานเด็ด ชีวิตกลางแจ้งของ“คนหาหอยหลอด” จากผู้จัดการออนไลน์]</ref> การจับหอยหลอดจะใช้ปูนขาวหยอดลงในรู หอยหลอดจะรู้สึกระคายเคืองและโผล่ขึ้นมาให้จับได้ง่าย ช่วงที่เหมาะสำหรับการจับมากที่สุดคือเดือนมกราคม-พฤษภาคม เพราะตอนกลางวันน้ำจะลดลงมากทำให้[[สันดอน]]โผล่พ้นน้ำ
 
== อ้างอิง ==