ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สกุลกฤษณา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 27:
ไม้ในสกุลกฤษณามีลำต้นขนาดปานกลาง แต่ถ้ามีอายุมากจะมีลำต้นขนาดใหญ่เป็นไม้เนื้อค่อนข้างอ่อน แต่เมื่ออายุมากแล้ว จะมีลักษณะเนื้อไม้ค่อนข้างแข็ง สีเหลืองมีลายสวยงาม เปลือกลอกง่าย ลำต้นตรง สีค่อนข้างแดงผิวเป็นเม็ดตุ่มเล็ก ๆ สีแดง-ดำ เทา เขียวอ่อน เป็นไม้โตเร็ว
 
ปัจจุบันสกุลกฤษณามีพรรณไม้ทั้งหมด 16 ชนิด ตามข้อกำหนดการประชุมกฤษณาโลกครั้งที่ 1 [[ประเทศเวียดนาม]] ตามรายละเอียดดังต่อไปนี้
 
* ''Aquilaria apiculata'' [[Elmer Drew Merrill|Merr.]], 1922 แหล่งที่พบคือ [[ฟิลิปปินส์]]
* ''Aquilaria baillonil'' แหล่งที่พบคือ [[ไทย]] [[กัมพูชา]] [[ลาว]] เวียดนาม
* ''Aquilaria banneonsis'' แหล่งที่พบคือ เวียดนาม
* ''Aquilaria beccarian'' [[Phillippe Édouard Léon van Tieghem|Tiegh.]] 1893 แหล่งที่พบคือ [[อินโดนีเซีย]]
* ''Aquilaria brachyantha'' ([[Merr.]]) [[Hallier f.]] แหล่งที่พบคือ [[มาเลเซีย]]
* ''[[Aquilaria crassna]]'' [[Jean Baptiste Louis Pierre|Pierre]] ex [[Paul Henri Lecomte|Lecomte]], 1915 แหล่งที่พบคือ ไทย กัมพูชา ลาว เวียดนาม
* ''Aquilaria cumingiana'' ([[Joseph Decaisne|Decne.]]) [[Henry Nicholas Ridley|Ridl.]], det. Ding Hou, 1959 แหล่งที่พบคือ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปินส์ฟิลิปปินส์
* ''Aquilaria filaria'' (Oken) [[Elmer Drew Merrill|Merr.]], 1950 แหล่งที่พบคือ [[นิวกินี]] [[จีน]]
* ''Aquilaria grandiflora'' Benth., 1861 แหล่งที่พบคือ จีน
* ''Aquilaria hilata'' แหล่งที่พบคือ อินโดนีเซีย มาเลเซีย
* ''Aquilaria khasiana'' แหล่งที่พบคือ [[อินเดีย]]
* ''[[Aquilaria malaccensis]]'' [[Jean-Baptiste Lamarck|Lam.]], 1783, ชื่อพ้อง ''A. agallocha'' และ ''A. secundaria'' แหล่งที่พบคือ ไทย อินเดีย อินโดนีเซีย
* ''Aquilaria microcarpa'' [[Baill.]] แหล่งที่พบคือ อินโดนีเซีย มาเลเซีย
* ''Aquilaria rostrata'' แหล่งที่พบคือ มาเลเซีย
* ''Aquilaria sinensis'' [[Ernest Friedrich Gilg|Gilg]], 1894 แหล่งที่พบคือ จีน
* ''[[Aquilaria subintegra]]'' Ding Hou แหล่งที่พบคือประเทศ ไทย
 
ชนิดพรรณไม้สกุลกฤษณาชนิดพื้นเมืองในประเทศไทยมี 5 ชนิด คือ
# '''''Aquilaria subintegra''''' หรือ "พันธุ์จันทบุรี" เป็นชนิดไม้ที่ให้คุณภาพน้ำมันสูง พบใน[[ภาคตะวันออก]] ([[จังหวัดระยอง]] [[จันทบุรี]] [[ตราด]] โดยเฉพาะที่[[เขาสอยดาว]]) และ[[จังหวัดปัตตานี]]
# ''Aquilaria subintegra'' วิสัยเป็นไม้พุ่มที่ไม่ให้น้ำมัน
# '''''Aquilaria crassna''''' หรือ "พันธุ์เขาใหญ่" เป็นชนิดไม้ที่ให้คุณภาพน้ำมันค่อนข้างสูง และปริมาณน้ำมันค่อนข้างมาก พบมากบริเวณทั้งในภาคกลาง ([[จังหวัดกำแพงเพชร]] [[เพชรบูรณ์]] [[นครนายก]] โดยเฉพาะที่[[อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่]]) นครนายก ปราจีนบุรี[[ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ]] ([[จังหวัดนครราชสีมา]] [[บุรีรัมย์]] และ[[ศรีสะเกษ]]) และบริเวณแถบ[[ภาคเหนือ]] ([[จังหวัดตราดเชียงราย]] [[แพร่]] และจันทบุรี[[น่าน]])
# '''''Aquilaria malaccensis''''' เป็นชนิดไม้ที่ให้คุณภาพน้ำหอมและปริมาณน้ำหอมปานกลาง พบบริเวณภาคตอนใต้ของประเทศไทย เช่น [[จังหวัดเพชรบุรี]] [[ประจวบคีรีขันธ์]] พัทลุง[[ระนอง]] [[กระบี่]] [[ตรัง]] ระนอง[[พัทลุง]] ปัตตานี ฯลฯ รวมทั้งตลอดแนวตามรอยตะเข็บชายแดนไทย -[[พม่า]]ขึ้นไปจนถึง [[รัฐอัสสัม ]]และ ภูฎาน[[ภูฏาน]]
# '''''Aquilaria hirta''''' วิสัยเป็นไม้พุ่มที่ไม่ให้น้ำมัน ยังไม่พบการใช้เนื้อไม้หอมชนิดนี้ในประเทศไทย พบในพื้นที่จังหวัด[[ภาคใต้]]ตอนล่าง และ[[แหลมมลายู]]
# '''''Aquilaria rugosa''''' วิสัยเป็นไม้ต้นขนาดกลางพบกระจายอยู่ในไทยและ[เวียดนาม มีรายงานพบเนื้อไม้หอมในเนื้อไม้ชนิดนี้เช่นกัน แต่เป็นไม้ต้นหายาก ทำให้ไม่พบแพร่นัก ในประเทศไทยพบขึ้นกระจายพันธุ์อยู่ตามภูเขาสูงในท้องที่[[จังหวัด เชียงใหม่]] [[แม่ฮ่องสอน]] [[ลำปาง]] [[อุตรดิตถ์]] จนจึงมีชื่อเรียกว่า "กฤษณาดอย"
 
== การใช้ประโยชน์ของไม้กฤษณา ==