ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สกุลกฤษณา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 13:
|genus_authority = [[Jean-Baptiste Lamarck|Lam.]]
|}}
'''สกุลกฤษณา''' (''Aquilaria'') เป็นสกุลหนึ่งของพืช[[วงศ์กฤษณา]] (Thymelaeaceae) มีถิ่นกำเนิดใน[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]]และ[[เอเชียใต้]] พบมากโดยเฉพาะใน[[ป่าดิบชื้น]]ของ[[อินโดนีเซีย]], [[ไทย]], [[กัมพูชา]], [[ลาว]], [[เวียดนาม]], [[มาเลเซีย]], [[อินเดีย]]ตอนเหนือ, [[ฟิลิปปินส์]] และ[[นิวกินี]]
 
== ประวัติ ==
กฤษณา เป็นไม้ที่กล่าวถึงนับแต่ครั้ง[[พุทธกาล]]ในฐานะ ของที่มีค่าหายาก ราคาแพงดั่ง[[ทองคำ]] ไม้กฤษณาอินเดียเป็นหนึ่งในของหอมธรรมชาติสี่อย่างที่เรียกว่า [[จตุรชาติสุคนธ์]] (กฤษณา [[กะลำพัก]] [[จันทน์เทศ|จันทน์]] และ[[ดอกไม้]])
 
ในประเทศไทยไม้กฤษณาเป็นสินค้าต้องห้ามของประชาชนทั่วไปเพราะมี[[กฎหมาย]]ให้ค้าขายได้เฉพาะกษัตริย์มาตั้งแต่โบราณ ต้น[[กรุงศรีอยุธยา]] ในสมัย[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]] ไม้กฤษณาถูกใช้เป็น[[เครื่องราชบรรณาการ]] และเป็นสินค้าไปเมืองจีน
 
[[สรรพคุณ]]ของกฤษณาแพร่กระจายไปถึง[[คาบสมุทรอาหรับ]]ในตะวันออกกลาง [[อาณาจักรกรีก]] โรมัน อียิปต์โบราณและ ผลผลิตจากต้นกฤษณามีเฉพาะในเอเชียบางส่วน เช่น อินเดีย จีน และ[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] เช่น พม่า ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ ลาว กัมพูชา และเวียดนาม เท่านั้น
 
ในปัจจุบันมีประเทศไทยเป็นประเทศแรกที่สามารถส่งผลผลิตและผลิตภัณฑ์ไม้กฤษณาออกไปจำหน่ายทั่วโลกอย่างถูกต้องตามกฎหมายและตาม[[อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าใกล้สูญพันธุ์|อนุสัญญาไซเตส]] และได้ขึ้นทะเบียนไม้ที่ปลูกกับไซเตรสเตสไว้ครั้งแรกจำนวน 7,404,452 ต้น ซึ่งปัจจุบันมีการปลูกทั่วประเทศประมาณ 15 ล้านต้น และไม่เพียงพอกับตลาดที่เพิ่มขึ้นในปัจจุบัน
 
== ความหลากชนิดของพรรณไม้สกุล ''Aquilaria''กฤษณา ==
ไม้กฤษณาเป็นไม้ในตระกูลไธเมลาอีซีอี (Thymelaeaceae) และสกุลเอควิลาเรีย (Aquilaria) กฤษณามีลำต้นขนาดปานกลาง แต่ถ้ามีอายุมากจะมีลำต้นขนาดใหญ่เป็นไม้เนื้อค่อนข้างอ่อน แต่เมื่ออายุมากแล้ว จะมีลักษณะเนื้อไม้ค่อนข้างแข็ง สีเหลืองมีลายสวยงาม เปลือกลอกง่าย ลำต้นตรง สีค่อนข้างแดงผิวเป็นเม็ดตุ่มเล็กๆสีแดง-ดำ เทา เขียวอ่อน เป็นไม้โตเร็ว
 
ปัจจุบันสกุลกฤษณามีอยู่พรรณไม้ทั้งหมด 16 ชนิด ตามข้อกำหนดการประชุมกฤษณาโลกครั้งที่ 1 ประเทศเวียดนาม ตามรายละเอียดดังต่อไปนี้
 
* ''Aquilaria apiculata'' [[Elmer Drew Merrill|Merr.]], 1922 แหล่งที่พบคือ ฟิลิปปินส์
เส้น 44 ⟶ 46:
* ''Aquilaria subintegra'' Ding Hou แหล่งที่พบคือประเทศไทย
 
ชนิดพรรณไม้สกุลกฤษณา ชนิดพื้นเมืองที่พบในประเทศไทยมี 5 ชนิด คือ
มี 5 ชนิด คือ
# ''Aquilaria subintegra'' วิสัยเป็นไม้พุ่มที่ไม่ให้น้ำมัน ยังไม่พบการใช้เนื้อไม้หอมชนิดนี้ในประเทศไทย พื้นที่จังหวัดที่พบคือ ปัตตานีและยะลา
# ''Aquilaria crassna'' เป็นชนิดไม้ที่ให้คุณภาพน้ำมันค่อนข้างสูง และปริมาณน้ำมันค่อนข้างมาก พบมากบริเวณอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ นครนายก ปราจีนบุรี นครราชสีมา บุรีรัมย์ ศรีสะเกษ และบริเวณแถบจังหวัดตราด และจันทบุรี