ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เภสัชเวท"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Twitchud (คุย | ส่วนร่วม)
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 90:
แทนนินได้นำมาใช้ครั้งแรกในการฟอกหนังให้ได้หนังที่ดีและอ่อนนุ่ม จนกระทั่งได้มีการทดลองเพื่อศึกษาวิธีการฟอกหนังที่ดีจนนำมาสู่การค้นหาสารจำพวกแทนนินซึ่งมีรสฝาด ซึ่งเป็นสารประกอบจำนวก[[โพลีฟีนอล]] แทนนินจึงเป็นสารอินทรีย์จำพวกฟีนอลซึ่งมีสัณญานแบบไม่เป็นผลึก (amorphous)มีคุณสมบัติการทำให้เกิดสีและตกตะกอนกับเหล็กและโลหะอื่นๆ<ref name="วิเชียร">รศ.ภก.ดร.วิเชียร จงบุญประเสริฐ. '''สารฝาด (Tannins หรือ Polyphenols)'''. คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย;2548.</ref> โดยมีการจำแนกสารจำพวกแทนนินเป็น 2 ประเภทคือแทนนินแท้จริง (true tannin) และแทนนินเสมือน (pseudotannin) ตามน้ำหนักของโมเลกุล<ref>[http://drug.pharmacy.psu.ac.th/Question.asp?ID=3255&gid=3 psu.ac.th] '''ใบฝรั่ง''' เรียกข้อมูลวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2553</ref>
 
แทนนินนำมาใช้ประโยชน์ในการแก้ท้องเสีย รักษาโรคจากไวรัสและยาปฏิชีวนะ, การฟอกหนัง ย้อมอวน แห ให้ทนทานต่อสภาพที่เค็ม, นำมาใช้เป็นองค์ประกอบของกลิ่นและรสชาติในเครื่องดื่มจำพวกชา กาแฟ ไวน์และเบียร์ นอกจากนี้ยังมีประโยชน์ในอุตสาหกรรมปิโตรเลียมในการลดความหนืดของดินเหนียวในการขุดเจาะบ่อลึกๆ<ref name="วิเชียร"/> ตัวอย่างพืชที่มีสารจำพวกแทนนินได้แก่ [[เบญกานี]], [[สีเสียดเทศกะเมีย]] (สีเสียดเทศ), [[โกฐน้ำเต้า]] เป็นต้น
 
=== เทอร์ปีนอยส์ ===