ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โอตากุ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Akihabara picture.jpg|300px|thumb|ย่านอะกิบะระในโตเกียว บริเวณที่รวมตัวของชาว ''โอะตะกุ'']]
{{ไม่เป็นกลาง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Otakustereo.jpg|thumb|175px|ลักษณะของโอะตะกุในความเข้าใจ : ผมเผ้ารุงรัง ใส่แว่น และใช้เวลาส่วนใหญ่ฝันลมๆ แล้งๆ ถึงสิ่งที่ตัวเองชอบ แล้วเป็นพวกเก็บตัวอยู่บ้าน ไม่ออกไปไหน ออกไปได้เฉพาะมีงานอะนิเมะต่างๆ]]
 
'''โอะตะกุ''' ({{Nihongo|おたく/オタク}}) เป็นคำภาษาญี่ปุ่นใช้กับคำที่มีความสนใจแบบหมกหมุ่น โดยทั่วไปมักเกี่ยวกับ[[แฟมดอมอะนิเมะและมังงะ]] การใช้คำเริ่มขึ้นจากเรียงความของ[[อะกิโอะ นะกะโมะริ]] ใน ค.ศ. 1983 ในนิตยสาร''[[มังงะบุริกโกะ]]''<ref name="transscript of original essay text (Japanese)">{{cite web |url=http://www.burikko.net/people/otaku01.html |script-title=ja:『おたく』の研究(1) 街には『おたく』がいっぱい 中森明夫 (1983年6月号) |publisher=Burikko.net|language=ja}}</ref><ref name="English translation of original essay text">{{cite web |url=http://neojaponisme.com/2008/04/02/what-kind-of-otaku-are-you/ |title=Otaku Research #1 "This City is Full of Otaku" by Nakamori Akio (Translated by Matt Alt) |publisher=Néojaponisme}}</ref> "โอะตะกุ" อาจใช้เป็นคำหยาบได้ เป็นศัพท์ด้านลบจากมุุมมองของโอะตะกุและรายงานของสื่อเรื่อง "ดิโอะตะกุเมอร์เดอเรอร์" ของ[[สึโตะโมะ มิยะซะกิ]] เมื่อ ค.ศ. 1989 จากการศึกษาที่ตีพิมพ์ใน ค.ศ. 2013 คำว่าโอะตะกุมีความหมายลบน้อยลง และมีจำนวนผู้ที่ระบุตนเองว่าเป็นโอะตะกุเพิ่มขึ้น<ref name="mynavi">{{cite web | url=http://news.mynavi.jp/news/2013/04/27/076/ | title=自分のことを「オタク」と認識してる人10代は62%、70代は23% |trans_title= 62% of Teens identify as "otaku", 70's 23% | publisher=Mynavi | date=27 April 2013 | accessdate=4 February 2014 | author=Michael Jakusoso | archiveurl=http://web.archive.org/web/20130703184904/http://news.mynavi.jp/news/2013/04/27/076 | archivedate=3 July 2013}}</ref>
'''โอะตะกุ''' ({{ญี่ปุ่น|おたく|otaku}}) เป็นคำนาม ดัดแปลงมาจากคำว่า O-taku ซึ่งเกิดจากการนำเอาคำปัจจัย "O-" มาเติมหน้าตัวคันจิ "taku" ซึ่งแปลว่า "บ้าน" และใช้เมื่อกล่าวถึงบ้านของคู่สนทนา ในความหมายว่า "บ้านของคุณ" นอกจากนี้ยังสามารถใช้เรียกแทนตัวคู่สนทนาได้ ในความหมายของ "คุณ" อย่างไรก็ตาม ไม่ว่าจะในความหมายของ "บ้าน" หรือ "คุณ" Otaku ก็ถือว่าเป็นคำที่ให้ความรู้สึกสุภาพและเป็นทางการอย่างมาก...{{อ้างอิง}}
 
วัฒนธรรมย่อยโอะตะกุเป็นเนื้อหาศูนย์กลางของงานอะนิเมะและมังงะ สารคดี และงานวิจัยทางการหลายชิ้น วัฒนธรรมย่อยดังกล่าวเริ่มขึ้นในคริสต์ทศวรรษ 1980 ขณะที่ภาวะทางจิตใจของสังคมที่เปลี่ยนแปลงและการดูแลผู้ที่มีนิสัยโอะตะกุในโรงเรียนญี่ปุ่นผสมผสานกับผู้ที่ลาออกมาสู่สังคมที่ไม่ยอมรับพฤติกรรมนี้ การเกิดวัฒนธรรมย่อยนี้บังเอิญเกิดร่วมกับยุครุ่งเรืองของอะนิเมะ หลังผลงานอย่างโมไบล์สูทกันดัมออกจำหน่ายก่อนแตกสาขาเป็นตลาดหนังสือการ์ตูน [[คอมิเก็ต]] ต่อมาคำนิยามของโอะตะกุมีความซับซ้อนมากขึ้น และมีการจัดระดับโอะตะกุอีกหลายระดับ ใน ค.ศ. 2005 สถาบันวิจัยโนะมุระแบ่งโอะตะกุเป็น 12 ประเภท และประมาณจำนวนและผลกระทบทางการตลาดของแต่ละประเภท สถาบันอื่น ๆ แบ่งย่อยออกไปอีกหรือให้ความสำคัฐกับความสนใจของโอะตะกุเฉพาะอย่าง งานวิจัยเหล่านี้แบ่งกลุ่มตามแต่ละประเภท โดยแบ่งเป็นโอะตะกุอะนิเมะ มังงะ รถยนต์ [[ไอดอลญี่ปุ่น|ไอดอล]] และอิเล็กทรอนิกส์ มีการประมานผลกระทบทางเศรษฐกิจของโอะตะกุว่าสูงถึง 2 พันล้านเยน (18 พันล้านดอลลาร์)<ref name="money">{{cite web | url=http://web-japan.org/trends/business/bus050830.html | title=Otaku Business Gives Japan's Economy a Lift | publisher=Web-Japan.org | date=30 August 2005 | accessdate=19 August 2013}}</ref>
การนำเอาคำว่า Otaku มาใช้เรียกกลุ่มคนกลุ่มหนึ่งนั้น ไม่มีแหล่งยืนยันแน่ชัดว่าเริ่มตั้งแต่ตอนไหน แต่ควรจะเป็นที่รู้จักกันแพร่หลายแล้วในช่วงต้นทศวรรษที่ 80 เนื่องจากวีดิโอที่ชื่อ "Otaku no Video"ของบริษัท GAINAX ที่ออกมาในปี 1992 ซึ่งนำเสนอเรื่องราวของพวก Otaku นั้น ยืนพื้นจากเหตุการณ์ในช่วงปี 1982-85 เฟรเดอริค ชอดต์ (Frederik L. Schodt) ได้กล่าวไว้ในหนังสือDreamland Japan : Writing on modern manga ว่า ช่วงต้นทศวรรษที่ 1980 แฟนการ์ตูนและแอนิเมชัน (Animation) ได้เริ่มใช้คำว่า Otaku เรียกกันและกัน สาเหตุที่ใช้ไม่เป็นที่ชัดเจนแต่คำศัพท์นี้ก็ถูกใช้อย่างแพร่หลายมากขึ้นเรื่อย ๆ พร้อมกับที่กระแสความนิยมในการ์ตูนและแอนิเมชันได้ก่อให้เกิดการเพิ่มจำนวนของพวก มาเนีย (Mania) หรือ แฟนพันธุ์แท้ (Hardcore Fans) มากขึ้น
 
== อ้างอิง ==
โวลเกอร์ กลาสมัค (Volker Grassmuck) นักสังคมวิทยาชาวเยอรมันกล่าวว่า กลุ่มคนที่เรียกว่าOtaku มีสภาพร่างกายและจิตใจที่เปราะบาง แต่ไม่ใช่พวกอารมณ์รุนแรง เพียงขาดความมั่นใจในการติดต่อสัมพันธ์กับผู้อื่น เป็นสาเหตุให้เกิดการใช้คำพูดที่สุภาพเรียบร้อยเป็นพิเศษ เพื่อหลีกเลี่ยงการกระทำผิดอันอาจก่อให้เกิดข้อขัดแย้งกับผู้อื่น
{{ต้องการรายการอ้างอิง}}
 
ส่วนการใช้คำว่า Otaku ในสิ่งตีพิมพ์ มีขึ้นเป็นครั้งแรกในปี 1983 โดยนักเขียนการ์ตูนล้อเลียนชื่อ นากาโมริ อากิโอะ (Nakamori Akio) เขาเขียนคอลัมน์ที่มีชื่อว่า โอทากุ โนะ เคงคิว (Otaku no kenkyu) ลงติดต่อกันในนิตยสารการ์ตูนแนวปลุกใจเสือป่าชื่อ มังงะ บุริกโกะ (Manga Burikko)โดยกล่าวถึงกลุ่มแฟนการ์ตูนที่เรียกกันและกันว่า Otaku เค้าจึงเรียกคนพวกนี้รวม ๆ ว่า โอทากุ-โซกุ (Otaku-zoku) ซึ่งแปลว่า เผ่าพันธุ์ Otaku และต่อมาตัดเหลือเพียง Otaku เขาเขียนบรรยายถึงความประทับใจที่มีต่อเหล่าแฟนการ์ตูนที่มาร่วมงานนิทรรศการการ์ตูนว่า...
 
“เป็นกลุ่มคนที่เล่นกีฬาไม่เก่งและชอบเก็บตัวอยู่ในห้องเรียนในเวลาพักที่เราสามารถพบเห็นได้ในทุก ๆ ชั้นเรียน… รูปร่างถ้าไม่ผอมแห้งเหมือนขาดสารอาหารก็อ้วนฉุจนผิด-ส่วน… ส่วนใหญ่จะใส่แว่นตากรอบเงินหนาเตอะ… และเป็นคนประเภทที่ไม่มีใครคบหาด้วย”
 
เขาเห็นว่า คำว่า “มาเนีย" (Mania) หรือ “แฟนที่มีศรัทธาอย่างแรงกล้า” (Enthusiastic Fans)ยังไม่สามารถที่จะใช้เรียกคนกลุ่มนี้ได้อย่างครอบคลุม จึงขอเรียกด้วยคำว่า “Otaku”...!
 
แม้ว่าคอลัมน์ของนากาโมริจะถูกยกเลิกไปในเวลาไม่นาน แต่ภาพพจน์ของ Otaku ที่นากาโมริได้บรรยายเอาไว้ก็ได้กลายมาเป็น Stereotyped ของ Otaku ที่ยังคงอยู่ในสังคมและถูกใช้อย่างแพร่หลาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในวงการสื่อมวลชน เนื่องจากพวกเขาเริ่มสังเกตเห็นถึงการเพิ่มปริมาณอย่างรวดเร็วของเยาวชนที่หมกมุ่นอยู่กับการ์ตูนและแอนิเมชัน...
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/โอตากุ"