ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อกหัก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''อกหัก''' คือวลีทั่วๆไปที่ใช้อธิบาย[[ความเจ็บปวดทางอารมณ์]]อย่างรุนแรง หรือความเจ็บปวดจากการสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รักจาก[[การตาย]], [[การหย่าร้าง]], การโยกย้ายที่อยู่, ถูกปฏิเสธ ฯลฯ คำๆนี้เป็นคำที่มีใช้มาแต่โบราณและถูกใช้อย่างกว้างขวาง อย่างน้อยก็มีการกล่าวถึงใน[[วรรณคดี]]เรื่อง[[รามายณะ]]ของ[[อินเดีย]] ซึ่งถูกแต่งในช่วง พ.ศ. 300 -743<ref>[http://books.google.com/books/p/pub-4297897631756504?id=tQKNpt7AOVwC&printsec=frontcover&dq=isbn:1605066575&source=gbs_summary_r&cad=0#PPA105,M1 Book 4 of 6, page 105.]</ref>
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
'''อกหัก''' คือวลีทั่วๆไปที่ใช้อธิบาย[[ความเจ็บปวดทางอารมณ์]]อย่างรุนแรง หรือความเจ็บปวดจากการสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รักจาก[[การตาย]], [[การหย่าร้าง]], การโยกย้ายที่อยู่, ถูกปฏิเสธ ฯลฯ คำๆนี้เป็นคำที่มีใช้มาแต่โบราณและถูกใช้อย่างกว้างขวาง อย่างน้อยก็มีการกล่าวถึงใน[[วรรณคดี]]เรื่อง[[รามายณะ]]ของ[[อินเดีย]] ซึ่งถูกแต่งในช่วง พ.ศ. 300 -743
<ref>[http://books.google.com/books/p/pub-4297897631756504?id=tQKNpt7AOVwC&printsec=frontcover&dq=isbn:1605066575&source=gbs_summary_r&cad=0#PPA105,M1 Book 4 of 6, page 105.]</ref>
 
โดยทั่วไปแล้ว อกหักมักจะเกี่ยวข้องกับการสูญเสียคู่สมรส หรือ คนที่รัก การสูญเสียผู้ให้กำเนิด, ลูก, สัตว์เลี้ยง หรือ เพื่อนสนิท ก็อาจเรียกได้ว่าอกหักเช่นกัน วลีนี้เกี่ยวข้องถึงความเจ็บปวดบริเวณหน้าอกจากการสูญเสีย และโดยทั่วไป วลีนี้ก็มักจะใช้ในสภาพอาการนี้ ซึ่งถูกเรียกว่า [[:en:Takotsubo cardiomyopathy|Broken Heart Syndrome (หรือ Takotsubo cardiomyopathy)]] อันมีสาเหตุมาจากการที่[[สมอง]]หลั่งสารเคมีออกมาเพื่อทำให้[[เนื้อเยื่อ]][[หัวใจ]]อ่อนแอลง<ref>[http://www.medicalnewstoday.com/medicalnews.php?newsid=56666 Mayo Clinic Research Reveals 'broken Heart Syndrome' Recurs In 1 Of 10 Patients<!-- Bot generated title -->]</ref>
<ref>[http://www.medicalnewstoday.com/medicalnews.php?newsid=56666 Mayo Clinic Research Reveals 'broken Heart Syndrome' Recurs In 1 Of 10 Patients<!-- Bot generated title -->]</ref>
 
== มุมมองในเชิงปรัชญา ==
เส้น 24 ⟶ 21:
อาการอกหักสามารถปรากฏได้โดยความเจ็บปวดทางจิต แต่ก็มีหลายๆผลกระทบที่ส่งผลเชิงกายภาพ ประสบการณ์อกหักนี้มักจะถูกคำนึงถึงในลักษณะที่อธิบายไม่ได้ รายการต่อไปนี้เป็นรายการของอาการโดยทั่วไปที่อาจเกิดขึ้น{{อ้างอิง}}
 
* ปวดแน่นหน้าอก ซึ่งคล้ายคลึงกับ [[:en:Panic attack|Panic attack]]
* ปวดท้อง และ/หรือ ไม่อยากอาหาร
* นอนไม่หลับ
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/อกหัก"