ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มะขาม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 15:
| binomial = Tamarindus indica
}}
'''มะขาม''' เป็นไม้เขตร้อน มีถิ่นกำเนิดอยู่ใน[[ทวีปแอฟริกา]]แถบ[[ประเทศซูดาน]] ต่อมามีการนำเข้ามาใน[[ประเทศแถบเขตร้อนของ]][[ทวีปเอเชีย|เอเชีย]] และประเทศแถบ[[ละตินลาตินอเมริกา]] และในปัจจุบันมีมากใน[[ประเทศเม็กซิโก|เม็กซิโก]]
 
ชื่อมะขามในภาคต่างๆต่าง ๆ เรียก มะขามไทย [[ภาคกลาง]] ขาม [[ภาคใต้]] ตะลูบ [[โคราช]] ม่วงโคล้ง (กะเหรี่ยง-[[จังหวัดกาญจนบุรี|กาญจนบุรี]]) อำเปียล [[เขมร]] [[จังหวัดสุรินทร์]] ใน[[ภาษาอังกฤษ]]ใช้คำว่า tamarind ซึ่งมาจาก[[ภาษาอาหรับ]]:تمر هندي (tamr hindī) แปลว่า Indian date
 
มะขามเป็นต้นเป็น[[รายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัด|พันธุ์ไม้มงคลพระราชทาน]]และดอกไม้ประจำ[[จังหวัดเพชรบูรณ์]] มะขามในไทยมีสองชนิดคือมะขามเปรี้ยวและมะขามหวาน โดยมะขามหวานมีหลายพันธุ์เช่น พันธุ์น้ำผึ้ง อินทผลัม หมื่นจง สีทอง ในบางครั้งจะเรียกมะขามตามลักษณะของฝัก เช่น มะขามขี้แมว คือมะขามฝักกลม มะขามกระดาน คือมะขามฝักแบน มะขามข้อเดียวคือมะขามที่ฝักมีข้อเดียวออกกลมป้อม
 
== ลักษณะเฉพาะ ==
บรรทัด 30:
== ประโยชน์==
=== อาหาร ===
มะขามใช้ทำอาหารได้หลายส่วน ทั้งใบอ่อน ฝักอ่อน ฝักแก่ และเม็ดก็นำมาคั่วไก่โต้ง และ ไก้แจ้ รับประทานได้ มะขามเปียกที่ทำจากมะขามฝักแก่เป็นเครื่องปรุงรสเปรี้ยวที่สำคัญในอาหารไทย ทั้งแกงส้ม ต้มส้ม ไข่ลูกเขย น้ำปลาหวาน ยอดและใบมะขามอ่อนนำไปยำหรือใส่ในต้มเพื่อเพิ่มรสเปรี้ยว และยังใช้ทำขนมได้อีกหลายชนิด เช่น มะขามแช่อิ่ม มะขามแก้ว มะขามคลุก มะขามกวน เป็นต้น
 
ยอดอ่อนและฝักอ่อนมี[[วิตามิน เอ]] มาก มะขามเปียกรสเปรี้ยว ทำให้ชุ่มคอ ลดความร้อนของร่างกายได้ดี เนื้อในฝักมะขามที่แก่จัด เรียกว่า "มะขามเปียก" มะขามเปียกอุดมด้วยกรดอินทรีย์ อาทิ [[กรดซิตริก]] (Citric Acid) [[กรดทาร์ทาริก]](Tartaric Acid) หรือ[[กรดมาลิก]](Malic Acid) เป็นต้น มีคุณสมบัติชำระล้างความสกปรกรูขุมขน คราบไขมันบนผิวหนังได้ดี
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/มะขาม"