ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ก้ามปู"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Paul 012 (คุย | ส่วนร่วม)
จามจุรีแดง
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 24:
| synonyms_ref = <ref>[http://www.itis.gov/servlet/SingleRpt/SingleRpt?search_topic=TSN&search_value=520959 จาก itis.gov]</ref>
}}
'''จามจุรี''' หรือ, '''ก้ามปู''' หรือ '''ฉำฉา'''<ref name="สำนักงานหอพรรณไม้">เต็ม สมิตินันทน์ [http://web3.dnp.go.th/botany/ThaiPlantName/Default.aspx ''ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย''] สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช, พ.ศ. 2549</ref> (พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถานฯ เรียกว่า '''จามจุรีแดง'''; {{lang-en|Rain tree}}; {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Samanea saman}}) เป็นพืชใน[[วงศ์ถั่ว]] (Leguminosae) ในวงศ์ย่อย [[Minosoideae]] เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ มีกิ่งก้านสาขามาก มีใบขนาดเล็ก [[ดอกไม้|ดอก]][[สีชมพู]] มีผลเป็นฝัก เมล็ดแข็ง ผลมีเนื้อสีชมพู รสหวาน[[สัตว์เคี้ยวเอื้อง]]ชอบกินเป็นอาหาร เป็นพืชพื้นเมืองของ[[เม็กซิโก]], [[บราซิล]] และ[[เปรู]] ต่อมาได้ถูกนำเข้ามาเผยแพร่ใน[[เอเชียใต้]], [[เอเชียอาคเนย์]], [[Pacific Islands|หมู่เกาะแปซิฟิก]] และ[[ฮาวาย]]
 
จามจุรีต้นแรกในประเทศไทยปลูกอยู่ภายใน[[โรงเรียนอัสสัมชัญ]] โดยบาทหลวงรอมิเอล ซึ่งเป็นนักบวชที่อยู่ในวัดอัสสัมชัญ เป็นผู้นำพันธุ์มาจากเมือง[[ไซง่อนไซ่ง่อน]] [[ประเทศเวียดนาม]] ต่อมาภายหลังก็เป็นที่แพร่หลายและนิยมนำมาปลูกเป็นต้นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่เพื่อให้ร่มเงา
 
จามจุรีต้นแรกในประเทศไทยปลูกอยู่ภายใน[[โรงเรียนอัสสัมชัญ]] โดยบาทหลวงรอมิเอล ซึ่งเป็นนักบวชที่อยู่ในวัดอัสสัมชัญ เป็นผู้นำพันธุ์มาจากเมือง[[ไซง่อน]] [[ประเทศเวียดนาม]] ต่อมาภายหลังก็เป็นที่แพร่หลายและนิยมนำมาปลูกเป็นต้นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่เพื่อให้ร่มเงา
[[ไฟล์:Starr 030905-0003 Samanea saman.jpg|thumb|200px|left|ดอกจามจุรี]]
จามจุรีป็นต้นไม้ประจำ[[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]], [[โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา]], [[โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]], [[โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย]] และเป็นพันธุ์ไม้พระราชทานเพื่อปลูกเป็นมงคล[[จังหวัดลำพูน]]
 
นอกจากก้ามปูและฉำฉาแล้ว จามจุรี ยังมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีกตามแต่ละพื้นที่ ได้แก่ "ก้ามกราม" (กลาง), "ก้ามกุ้ง" (กทม., อุตรดิตถ์), "ตุ๊ดตู่" (ตราด), "ลัง" (เหนือ), "สารสา" (เหนือ), "สำสา" (เหนือ) และ "เส่คุ่" (กะเหรี่ยง แม่ฮ่องสอน) เป็นต้น<ref name="สำนักงานหอพรรณไม้">เต็ม สมิตินันทน์ [http://web3.dnp.go.th/botany/ThaiPlantName/Default.aspx ''ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย''] สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช, พ.ศ. 2549</ref>
 
== อ้างอิง ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ก้ามปู"