ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลาพรม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 21:
 
}}
'''ปลาพรม''' หรือ '''ปลาพรมหัวเหม็น''' (ใน[[พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542]] สะกด '''พรหมหัวเหม็น'''<ref>[http://dict.longdo.com/search/-%E0%B8%82%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0%B8%82%E0%B8%A1- ขี้ขม น. จากพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542]</ref>-{{lang-en|Greater bony-lipped barb}}; {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Osteochilus melanopleurus}}) เป็น[[ปลาน้ำจืด]]ชนิดหนึ่ง ใน[[วงศ์ปลาตะเพียน]] (Cyprinidae) มีขนาดใหญ่ที่สุดใน[[สกุลปลาสร้อยนกเขา]] มีขนาดโตเต็มที่ได้ถึง 60 เซนติเมตร แต่ขนาดโดยทั่วไป คือ 40 เซนติเมตร มีลำตัวกว้างและแบนข้าง หลังโค้ง ท่อนหางสั้น เกล็ดมีขนาดเล็ก ลำตัวมีเทาปนเงิน ลำตัวตอนเหนือครีบอกมีลายสีดำจาง ๆ ขวางลำตัวเป็นลักษณะเด่น นัยน์ตาเป็นสีแดง
 
เป็นปลาที่มีขนาดใหญ่ที่สุดใน[[สกุลปลาสร้อยนกเขา]] มีขนาดโตเต็มที่ได้ถึง 60 เซนติเมตร แต่ขนาดโดยทั่วไป คือ 40 เซนติเมตร มีลำตัวกว้างและแบนข้าง หลังโค้ง ท่อนหางสั้น เกล็ดมีขนาดเล็ก ลำตัวมีเทาปนเงิน ลำตัวตอนเหนือครีบอกมีลายสีดำจาง ๆ ขวางลำตัวเป็นลักษณะเด่น นัยน์ตาเป็นสีแดง
 
พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในแหล่งน้ำขนาดใหญ่ เช่น [[แม่น้ำ]], [[คลอง]] หรือ[[อ่างเก็บน้ำ]] ทั่วไปในภูมิภาค[[เอเชียอาคเนย์]] ในประเทศไทยพบได้ทั่วทุกภาค เป็นปลาที่หากินรวมกันเป็นฝูง ใช้ปากแทะ[[ตะไคร่น้ำ]]ตามโขดหินหรือตอไม้ใต้น้ำเป็นอาหารหลัก รวมทั้งกิน[[สัตว์น้ำ]]ขนาดเล็ก เช่น [[กุ้ง]]หรือ[[แมลง]] เป็นอาหารด้วย โดย [[ฮิวจ์ แมคคอร์มิค สมิธ]] นักมีนวิทยาชาวอเมริกันได้บันทึกไว้ว่า การตกปลาชนิดนี้ใช้เบ็ดเกี่ยวที่เป็นข้าวสุกปั้นเป็นก้อนกลม หรือใช้กุ้ง หรือแมลงตกใน[[แม่น้ำเจ้าพระยา]]
 
เหตุที่ได้ชื่อว่า "พรมหัวเหม็น" เนื่องจากเนื้อมีกลิ่นเหม็นคาวเหม็นเขียว โดยเฉพาะส่วนหัว แต่กระนั้นก็ตามส่วนเนื้อลำตัวก็ยังใช้ประกอบอาหารได้ดีทั้งอาหารสดและทำเป็น[[ปลาแห้ง]] นอกจากนี้ยังนิยมเลี้ยงกันเป็น[[ปลาสวยงาม]]<ref>หน้า 124, สาระน่ารู้ปลาน้ำจืดไทย เล่ม ๑ โดย สมโภชน์ อัคคะทวีวัฒน์ (พ.ศ. 2547) ISBN 974-00-8701-9</ref>
 
นิยมเลี้ยงกันเป็น[[ปลาสวยงาม]]<ref>หน้า 124, สาระน่ารู้ปลาน้ำจืดไทย เล่ม ๑ โดย สมโภชน์ อัคคะทวีวัฒน์ (พ.ศ. 2547) ISBN 974-00-8701-9</ref>
 
==อ้างอิง==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ปลาพรม"