ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ScorpianPK (คุย | ส่วนร่วม)
Minos777 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 78:
 
=== การเรียนการสอน ===
คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดการเรียนการสอนใน 3 ระดับการศึกษา คือ ระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก โดยการเรียนการสอนในระดับปริญญาบัณฑิต (ปริญญาตรี) ของคณะใช้ระบบทวิภาคคือ แบ่งปีการศึกษาหนึ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษา ได้แก่ ภาคการศึกษาต้นและภาคการศึกษาปลาย (หรืออาจมีภาคฤดูร้อนก็ได้) โดยปัจจุบันแบ่งออกเป็น 2 สาขา ได้แก่ สาขาวิชาการ[[เภสัชกรรมปฏิบัติ|การบริบาลทางเภสัชกรรม]]และสาขาวิชา[[เภสัชศาสตร์]]เภสัชกรรมอุตสาหการ ทั้งสองสาขาใช้ระยะเวลาในการศึกษาทั้งสิ้น 6 ปี แบ่งเป็นการศึกษาวิชาการศึกษาทั่วไปและวิชาพื้นฐานวิชาชีพเป็นเวลา 1 ปีครึ่ง และการศึกษาวิชาเฉพาะวิชาชีพเป็นเวลา 3 ปีครึ่ง และฝึกปฏิบัติวิชาชีพ 1 ปี ในสาขาการบริบาลทางเภสัชกรรมจะเน้นด้านการดูแลผู้ป่วยในกระบวนการใช้ยา และในสาขาวิชาเภสัชศาสตร์เภสัชกรรมอุตสาหการ จะสามารถเลือกวิชาเฉพาะของสาขาใน 3 สาขา ได้แก่ สาขาเภสัชกรรมและเทคโนโลยี สาขาค้นพบและพัฒนายา และสาขา[[เภสัชศาสตร์สังคม]]และ[[บริหารเภสัชกิจ|บริหาร]] ซึ่งทั้งสองหลักสูตรได้รับการรับรองจากสภาเภสัชกรรมและสภามหาวิทยาลัย<ref>[http://www.pharmacycouncil.org/file_attach/28Oct200919-AttachFile1256702719.pdf ประกาศสภาเภสัชกรรม เรื่อง สถาบันการศึกษาเภสัชศาสตร์ที่สภาเภสัชกรรมรับรอง] เรียกข้อมูลวันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2553</ref><ref>[http://www.pharm.chula.ac.th/course_Thai.html หลักสูตรปริญญาตรีของคณะเภสัชศาสตร์] เรียกข้อมูลวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2553</ref><ref>[http://www.pharm.chula.ac.th/ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย] เรียกข้อมูลวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2553</ref> หลังสำเร็จการศึกษาต้องชดใช้ทุนโดยเป็นเภสัชกรสังกัด[[กระทรวงสาธารณสุข]]เป็นระยะเวลา 2 ปี<ref name="แนะนำ">หน่วยทะเบียนคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, '''เอกสารแนะนำคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย'''</ref> หรือหน่วยงานราชการอื่นที่ระบุตำแหน่งในแต่ละปีการศึกษา<ref>คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย [http://www.pharm.chula.ac.th/news-view.php?id=61 กำหนดการจัดสรรนักศึกษาเภสัชศาสตร์ผู้ทำสัญญาฯ ปี 2555] สืบค้นเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2555</ref>
 
นอกจากการจัดการศึกษาในระดับปริญญาบัณฑิตนั้น คณะเภสัชศาสตร์ยังได้จัดการเรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษาโดยใช้ระยะเวลาศึกษาทั่วไป 2 ปี แบ่งเป็นหลักสูตรเภสัชศาสตรมหาบัณฑิต, หลักสูตรเภสัชศาสตรดุษฎีบัณฑิตและวิทยาศาสตรดุษฎีบันฑิต ทั้งนี้ยังมีการเรียนการสอนในหลักสูตรนานาชาติในสาขาเทคโนโลยีเภสัชกรรม และสาขาเภสัชศาสตร์สังคมและบริหาร
บรรทัด 90:
| valign = "top" |
'''หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต''' ใช้ระยะเวลาศึกษา 6 ปี
* '''[http://www.pharm.chula.ac.th/หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต%20สาขาวิชาการบริบาลทางเภสัชกรรม6ปี.html สาขาวิชาการบริบาลทางเภสัชกรรม]'''
* '''สาขาวิชาเภสัชอุตสาหการ'''
* '''[http://www.pharm.chula.ac.th/หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต%20สาขาวิชาเภสัชศาสตร์.html สาขาวิชาเภสัชศาสตร์]
| valign = "top" |
'''หลักสูตรเภสัชศาสตรมหาบัณฑิต ''' ใช้ระยะเวลาศึกษา 2 ปี
บรรทัด 103:
* สาขาวิชาจุลชีววิทยา
* สาขาวิชาสรีรวิทยา
* สาขาวิชาเภสัชวิทยาและพิษวิทยา
* สาขาชีวเวชเคมี
* สาขาวิชาเทคโนโลยีเภสัชกรรม (นานาชาติ)
* สาขาวิชาเภสัชศาสตร์สังคมและบริหาร (นานาชาติ)
'''หลักสูตรวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต '''
* สาขาวิชาวิทยาศาสตร์เครื่องสำอาง
| valign = "top" |
'''หลักสูตรเภสัชศาสตรดุษฎีบัณฑิต''' ใช้ระยะเวลาศึกษา 2 ปี
เส้น 277 ⟶ 279:
|-
|}
 
|}
คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาแล้วทั้งสิ้น 7,760 คน (ข้อมูลเดือนมกราคม พ.ศ. 2555)<ref>ทำเนียบนิสิตเก่า คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ใน 95 ปี คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรียกข้อมูลวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2555</ref><ref name="รายงานประเมิน53">คณะกรรมการตรวจประเมินคุณภาพภายใน คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาฯ, รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน กรกฎาคม 2553</ref><ref>รายงานการประเมินตนเอง คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2552</ref><ref>หนังสือกระถินณรงค์ 2555</ref> นิสิต นิสิตเก่า และคณาจารย์ของคณะมีส่วนสำคัญในการผลักดันวิชาชีพเภสัชกรรมให้เป็นที่ยอมรับในสังคม ตั้งแต่การผลักดันพระราชบัญญัติควบคุมการขายยา พ.ศ. 2479 โดยเภสัชกร ร้อยเอกหวาน หล่อพินิจ ซึ่งกำหนดให้ควบคุมการปรุงยา การจ่ายยา และการผลิตยาโดยเภสัชกร<ref>Prince of Songkhla University. ''Thai Journal of Pharmacy Practice''. 2011;3 (Jan-June):1-2.</ref> การจัดตั้ง[[เภสัชกรรมสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์]]โดย[[หม่อมราชวงศ์ชาย ชุมแสง|พระมนตรีพจนกิจ (หม่อมราชวงศ์ชาย ชุมแสง)]] อาจารย์ประจำภาควิชาเภสัชพฤกษศาสตร์ ร่วมกับเภสัชกรท่านอื่นๆ อีก 64 คน<ref>[http://www.thaipharma.net/index.php?lay=show&ac=article&Id=500265 ประวัติเภสัชกรรมสมาคมฯ] เรียกข้อมูลวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2555</ref> ซึ่งมีส่วนในการผลักดันพระราชบัญญัติยาให้เกิดขึ้นในสังคมไทยเมื่อปี พ.ศ. 2510 ตลอดจนการผลักดันพระราชบัญญัติวิชาชีพเภสัชกรรม ในปี พ.ศ. 2537<ref>ประนอม โพธิยานนท์,รศ.ภญ., วิวัฒนาการวิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ. 2530</ref> นอกจากนี้คณาจารย์ของคณะเภสัชศาสตร์ได้สร้างแผนงานสร้างกลไกเฝ้าระวังและพัฒนาระบบยา (กพย.) เพื่อเป็นหน่วยสนับสนุนการพัฒนาระบบยาในประเทศไทยและมีผลงานร่วมกับภาคีเครือข่ายอื่นๆ ในการผลักดันร่างพระราชบัญญัติยาฉบับประชาชน<ref>[http://www.thaidrugwatch.org/news_detail.php?n_no=194 ร่าง พระราชบัญญัติยา พ.ศ. .... (ฉบับประชาชน)] กพย. เรียกข้อมูลวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2555</ref> แผนงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ (คคส.) เพื่อคุ้มครองสวัสดิภาพของประชาชนในด้านยาและวัตถุที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ เพื่อกระตุ้นเตือนประชาชน รวมถึงมีส่วนร่วมในการผลักดันธรรมนูญสุขภาพขึ้นในสังคมไทย<ref>[http://www.thaihealthconsumer.org/ ความเป็นมาของแผนงาน : “ การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ” เป็นองค์ประกอบหนึ่งที่สำคัญของ ยุทธศาสตร์การสร้างเสริมสุขภาพของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการ สร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)] เรียกข้อมูล 12 มกราคม พ.ศ. 2555</ref> และยังมีส่วนร่วมในการจัดตั้งมูลนิธิเภสัชศาสตร์เพื่อสังคม (มภส) เพื่อพัฒนาวิชาชีพและการศึกษาเภสัชศาสตร์ในสังคมไทย รวมถึงการมอบรางวัลให้กับเภสัชกรที่ทำประโยชน์แก่สังคม<ref>มูลนิธิเภสัชศาสตร์เพื่อสังคม:แนวคิด ความเป็นมา และเป้าหมาย</ref>