ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระยาไชยสงคราม (ทิพย์ช้าง)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 17:
|ระยะเวลาครองราชย์ = 27 ปี
|รัชกาลก่อนหน้า =
|รัชกาลถัดมา = [[เจ้าฟ้าสิงหราชธานี เจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว]]
|}}
 
บรรทัด 23:
 
== พระประวัติ ==
ในช่วงปลายของกรุงศรีอยุธยา [[นครเชียงใหม่]]และ[[อาณาจักรล้านนา]]เป็นเมืองขึ้นของพม่า ส่วนลำปางเป็นนครรัฐอิสระ กระทั่วกระทั่งท้าวหนานมหายศ เจ้าเมืองลำพูนยกทัพมาตีชนะเมืองลำปาง และตั้งศูนย์บัญชาการที่วัดพระธาตุลำปางหลวง เหล่าบรรดาประชาชนจึงได้ขอให้หนานทิพย์ช้าง นายพรานผู้เก่งกล้าและเชี่ยวชาญอาวุธปืนยาวและหน้าไม้ เป็นผู้นำในการกอบกู้นครลำปาง โดยสามารถรบชนะและสังหารท้าวมหายศได้ที่วัดพระธาตุลำปางหลวง ชาวเมืองจึงร่วมกันสถาปนาหนานทิพย์ช้าง ขึ้นครองนครลำปาง ในปี พ.ศ. 2275<ref>วรเทวี (ณ ลำพูน) ชลวณิช. '''เจ้าหลวงลำพูน''' กรุงเทพฯ : อัมรันทร์พริ้นติ้ง. 2552</ref> มีพระนามว่า '''พระญาสุลวะลือไชย'''
 
ต่อมาพระองค์ได้ส่งเครื่องราชบรรณาการไปถวายพระเจ้ากรุงอังวะ และได้รับการเฉลิมพระนามจากพระเจ้ากรุงอังวะเป็น'''พระยาไชยสงคราม''' ในปี พ.ศ. 2278<ref>คณะกรรมการจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์, '''ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่''', พระนคร : โรงพิมพ์สำนักนายกรัฐมนตรี, 2514, หน้า 88</ref> บางตำราจึงมักออกพระนามรวมกันเป็น'''พระยาสุลวะลือไชยสงคราม''' พระองค์ปกครองนครลำปางได้ 27 ปี จึงถึงแก่พิราลัยในปี พ.ศ. 2302
บรรทัด 38:
 
== อนุสาวรีย์ ==
=== อนุสาวรีย์ ณ ตำบลพระบาท ===
อนุสาวรีย์พระยาสุลวลือไชยสงคราม ตั้งอยู่ที่ริมถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ลำปาง-งาว ตำบลพระบาท [[อำเภอเมืองลำปาง]] [[จังหวัดลำปาง]] โดยความดูแลของ[[เทศบาลนครลำปาง]] ก่อสร้างขึ้นเพื่อเทิดพระเกียรติคุณของเจ้าหนานทิพย์ช้าง หรือพระยาสุลวะลือไชยสงคราม ในปี พ.ศ. 2527 โดย[[สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (วาสน์ วาสโน)]] เสด็จทรงประกอบพิธีเททองเมื่อวันที่ [[9 เมษายน]] [[พ.ศ. 2527]] และ[[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ]] เสด็จพระราชดำเนินทรงประกอบพิธีเปิดอนุสาวรีย์<ref>[http://www.m-culture.in.th/moc_new/album/131305/อนุสาวรีย์พ่อเจ้าทิพย์ช้าง/ อนุสาวรีย์พ่อเจ้าทิพย์ช้าง] จาก ศูนย์ข้อมูลกลางทางวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม</ref> เมื่อวันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2527
 
โดยจะมีการจัดพิธีบวงสรวงในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ของทุกปี
นอกจากนั้นยังได้มีการสร้างอนุสาวรีย์เจ้าหนานทิพย์ช้าง ภายในบริเวณ[[วัดพระแก้วดอนเต้าสุชาดาราม]] อำเภอเมืองลำปาง บริเวณลานหน้า[[วัดพระธาตุลำปางหลวง]] อำเภอเกาะคา และที่ตำบลบ้านเอื้อม อำเภอเมืองลำปาง
 
=== อนุสาวรีย์ ณ วัดพระธาตุลำปางหลวง ===
วัดพระธาตุลำปางหลวง มีความสำคัญเชื่อมโยงกับประวัติศาสตร์การต่อสู้ของพระยาสุลวลือไชยสงคราม ดังปรากฎเป็นรอยกระสุนปืนของพระยาสุลวลือไชยสงคราม บริเวณรั้วพระธาตุลำปางหลวง จึงได้มีการจัดสร้างอนุสาวรีย์พระยาสุลวลือไชยสงคราม บริเวณลานหน้า[[วัดพระธาตุลำปางหลวง]] อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง
 
=== อนุสาวรีย์ ณ วัดพระแก้วดอนเต้าสุชาดาราม ===
นอกจากนั้นยังได้มีการสร้างอนุสาวรีย์เจ้าหนานทิพย์ช้าง ภายในบริเวณ[[วัดพระแก้วดอนเต้าสุชาดาราม]] อำเภอเมืองลำปาง บริเวณลานหน้า[[วัดพระธาตุลำปางหลวง]] อำเภอเกาะคา และที่ตำบลบ้านเอื้อม อำเภอเมืองลำปาง
[[ไฟล์:Nanthipchang.jpg|thumb|อนุสาวรีย์เจ้าหนานทิพย์ช้าง]]
 
== อนุสรณ์สถาน ==
สภาวัฒนธรรมจังหวัดลำปาง ได้ดำเนินการจัดสร้างอนุสรณ์สถานพระยาสุลวลือไชยสงคราม บริเวณบ้านเอื้อม อำเภอเมืองลำปาง ซึ่งเป็นบ้านเกิดของแม่เจ้าปิมปา มหาเทวีในพระยาสุลวลือไชยสงคราม
 
== อ้างอิง ==