ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาเลอเวือะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด +แจ้งรอตรวจสอบด้วยบอต
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 2:
{{กล่องข้อมูล ภาษา
| name = ภาษาละว้า
| nativename = ละเลอเวือะ
| familycolor = Austro-Asiatic
| states = ภาคเหนือของไทย
| speakers =
| fam2 = [[ภาษากลุ่มมอญ-เขมร|มอญ-เขมรภาษาปะหล่อง]]
| fam3 = [[ภาษากลุ่มปะหล่อง-ภาษาว้า ]]
|fam4=
|iso1=|iso2=
|lc1=lwl|ld1=ภาษาละว้าตะวันออก
|lc2=lcp|ld2=ภาษาละว้าตะวันตก
|glotto=lawa1256
|glottorefname=Lawa
}}
 
'''ภาษาละว้า''' หรือ '''ภาษาเลอเวือะ''' เป็นภาษาในตระกูลออสโตรเอเชียติก สาขามอญ-เขมร สาขาย่อยปะหล่อง-ว้า ผู้พูดภาษานี้เรียกตนเองว่าละเวือะ ในประเทศไทยมีผู้พูดภาษานี้ในจังหวัด[[เชียงใหม่]]และ[[แม่ฮ่องสอน]] เคยมีผู้พูดในจังหวัด[[ลำปาง]] [[เชียงราย]]และ[[แพร่]]ตามรายงานของ E.W. Hutchinson เมื่อ พ.ศ. 2477 แต่จากการสำรวจเมื่อ พ.ศ. 2527 ไม่พบผู้พูดภาษาละว้าในจังหวัดดังกล่าว คงพูด[[ภาษาไทยถิ่นเหนือ]]ทั้งหมด มิชชันนารีที่เข้าไปเผยแพร่[[ศาสนาคริสต์]]ได้พัฒนาการเขียนภาษาละว้าด้วย[[อักษรละติน]]
 
หน่วยเสียงมีสระ25 เสียง โดยเป็นสระเดี่ยว 10 เสียง สระประสม 15 เสียง พยัญชนะมี 27 เสียง เป็นตัวสะกดได้ 10 เสียง พยัญชนะควบกล้ำมี 12 เสียง
 
== อ้างอิง ==
* สุริยา รัตนกุล และลักขณา ดาวรัตนหงษ์. พจนานุกรมภาษาละว้า-ไทย. กทม. มหาวิทยาลัยมหิดล. 2528