ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระโพธิสัตว์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Disthan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{พุทธศาสนา}}
[[ไฟล์:Prajnaparamita_Java.jpg|thumb|210px|พระ[[พระปรัชญาปารมิตา]] [[ชวา]] [[ศิลปะศรีวิชัย]]]]
 
[[ไฟล์:Prajnaparamita_Java.jpg|thumb|210px|[[พระปรัชญาปารมิตา]] [[ชวา]] [[ศิลปะศรีวิชัย]]]]
[[ไฟล์:Bodhisattva Musée Guimet 27971.jpg|thumb|210px|พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ [[ศิลปะขอม]]]]
 
'''พระโพธิสัตว์''' ({{lang-sa|बोधिसत्त्व}} ''bodhisattva''; {{lang-pi|बोधिसत्त}} ''bodhisatta'') หมายถึง ผู้ที่จะได้ตรัสรู้เป็น[[พระพุทธเจ้า]]<ref>{{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง = [[ราชบัณฑิตยสถาน]]|ชื่อหนังสือ = [[พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554]] เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554|URL = |จังหวัด = กรุงเทพฯ|พิมพ์ที่ = ราชบัณฑิตยสถาน|ปี = 2556|ISBN = 978-616-7073-56-9|จำนวนหน้า = 1,544|หน้า=852}}</ref> คำว่า "โพธิสัตว์" แปลว่า ''ผู้ข้องอยู่ในพระโพธิญาณ''<ref name="พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล"/>
'''พระโพธิสัตว์''' หมายถึง บุคคลที่บำเพ็ญ[[บารมี]]หรือกระทำความดีต่าง ๆ เพื่อให้[[ตรัสรู้]]พระสัมมาสัมโพธิญาณเป็น[[พระพุทธเจ้า]]ในอนาคตกาล มีพระโพธิสัตว์เป็นจำนวนมากตามความเชื่อในฝ่าย[[เถรวาท]] และ[[มหายาน]] แต่มีความแตกต่างกันไป
 
ทั้งฝ่าย[[เถรวาท]]และ[[มหายาน]]เชื่อว่ามีพระโพธิสัตว์เป็นจำนวนมาก แต่รายละเอียดความเชื่อแตกต่างกันไป
 
== คำศัพท์ ==
พระโพธิสัตว์ มีภาษาต่างๆต่าง ๆ มีดังนี้<ref name="พุทธปฏิมาฝ่ายมหายาน">ผาสุข อินทราวุธ. พุทธปฏิมาฝ่ายมหายาน. กทม. โรงพิมพ์อักษรสมัย. 2543. หน้า 83-84</ref>
* [[ภาษาสันสกฤต|สันสกฤต]] = โพธิสตฺตฺว
* [[ภาษาบาลี|บาลี]] = โพธิสตฺต
เส้น 17 ⟶ 18:
* [[อักษรโรมัน]] โดยทั่วไป สะกด "Bodhisattva"
 
== การสร้างพุทธบารมี ==
=== ประเภทของพระโพธิสัตว์ ===
[[พระธัมมปาละ]] ระบุไว้ในอรรถกถาสโมทานกถา (ใน[[ปรมัตถทีปนี]]) ว่าพระโพธิสัตว์มี 3 ประเภท คือ<ref name>[http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=33.3&i="พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล36&p=2 อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน">ราชบัณฑิตยสถานปกิณณกคาถา], ''พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากลอรรถกถา อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552,ขุททกนิกาย หน้าจริยาปิฎก 108-11สโมธานกถา</ref>
# '''พระมหาโพธิสัตว์''' พระโพธิสัตว์ผู้บำเพ็ญบารมีเพื่อให้ได้ตรัสรู้เป็น[[พระอรหันต์]][[สัมมาสัมพุทธเจ้า]]
# '''พระปัจเจกโพธิสัตว์''' พระโพธิสัตว์ผู้บำเพ็ญบารมีเพื่อให้ได้เป็น[[พระปัจเจกพุทธเจ้า]]
# '''พระสาวกโพธิสัตว์''' พระโพธิสัตว์ผู้บำเพ็ญบารมีเพื่อให้ได้เป็นพระ[[อนุพุทธะ]]
 
นอกจากนี้ ในอรรถกถาเถรคาถา (ในปรมัตถทีปนี) พระธัมมปาละยังจำแนกพระมหาโพธิสัตว์ออกเป็นอีก 3 ประเภท<ref>[http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=26&i=137&p=2 นิทานกถาวรรณนา], อรรถกถา ขุททกนิกาย เถรคาถา เอกกนิบาต ปฐมวรรค ว่าด้วยคาถาสุภาษิต ในเอกกนิบาต วรรคที่ ๑</ref> คือ
;'''1. ปัญญาธิกโพธิสัตว์'''
:# '''ปัญญาธิกโพธิสัตว์''' คือพระโพธิสัตว์ที่สร้างบารมีโดยใช้ปัญญาเป็นตัวนำ ระยะเวลาการสร้างบารมีทั้งหมด 20 อสงไขยกับเศษแสนมหากัป คือตั้งความปรารถนาอยู่ในใจเป็นเวลา 7 อสงไขย หลังจากนั้นจึงออกปากกล่าววาจาต่อหน้าพระพักตร์พระพุทธเจ้าเป็นเวลา 9 อสงไขย รวมเป็น 16 อสงไขย และได้รับพุทธพยากรณ์ครั้งแรกเป็น '''พระนิยตโพธิสัตว์''' เมื่อเหลือเวลาอีก 4 อสงไขยกับเศษแสนมหากัป เป็นการสร้างบารมีอย่างยิ่งและเข็มงวดขึ้นเรื่อย และได้รับพยากรณ์ซ้ำมาตลอดเมื่อได้พบกับพระพุทธเจ้าจนถึงสมัยพุทธภูมิของท่าน
:# '''สัทธาธิกโพธิสัตว์''' คือพระโพธิสัตว์ที่สร้างบารมีโดยใช้ศรัทธาเป็นตัวนำ ระยะเวลาการสร้างบารมีทั้งหมด 40 อสงไขยกับเศษแสนมหากัป คือตั้งความปรารถนาอยู่ในใจเป็นเวลา 14 อสงไขย หลังจากนั้นจึงออกปากกล่าววาจาต่อหน้าพระพักตร์พระพุทธเจ้าเป็นเวลา 18 อสงไขย รวมเป็น 32 อสงไขย และได้รับพุทธพยากรณ์ครั้งแรกเป็น '''พระนิยตโพธิสัตว์ ''' เมื่อเหลือเวลาอีก 8 อสงไขยกับเศษแสนมหากัป เป็นการสร้างบารมีอย่างยิ่งและเข็มงวดขึ้นเรื่อย และได้รับพยากรณ์ซ้ำมาตลอดเมื่อได้พบกับพระพุทธเจ้า จนถึงสมัยพุทธภูมิของท่าน
:# '''วิริยาธิกโพธิสัตว์''' คือพระโพธิสัตว์ที่สร้างบารมีโดยใช้วิริยะเป็นตัวนำ ระยะเวลาการสร้างบารมีทั้งหมด 80 อสงไขยกับเศษแสนมหากัป คือตั้งความปรารถนาอยู่ในใจเป็นเวลา 28 อสงไขย หลังจากนั้นจึงออกปากกล่าววาจาต่อหน้าพระพักตร์พระพุทธเจ้าเป็นเวลา 36 อสงไขย รวมเป็น 64 อสงไขย และได้รับพุทธพยากรณ์ครั้งแรกเป็น '''พระนิยตโพธิสัตว์ ''' เมื่อเหลือเวลาอีก 16 อสงไขยกับเศษแสนมหากัป เป็นการสร้างบารมีอย่างยิ่งและเข็มงวดขึ้นเรื่อย และได้รับพยากรณ์ซ้ำมาตลอดเมื่อได้พบกับพระพุทธเจ้า จนถึงสมัยพุทธภูมิของท่าน
 
ตามหลักฐานที่ปรากฏในพระไตรปิฎก[[อรรถกถา]]พบว่า ยิ่งใช้เวลาในการบำเพ็ญบารมีนานเท่าใด พระโพธิสัตว์จะมีพระชนมายุยืนขึ้นในสมัยที่ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า รวมทั้งสัตว์ที่เกิดในยุคนั้นจะมีอายุยืน และบรรลุธรรมได้ง่ายและมีจำนวนมาก แต่ไม่ประกันว่าศาสนาของพระองค์จะยืนยาวหลายชั่วอายุขัย เช่น พระพุทธเจ้าองค์ปัจจุบันนี้ มีพระนามว่า '''[[พระโคตมพุทธเจ้า]]''' พระองค์ทรงสร้างบารมีมาทาง '''ปัญญาธิกโพธิสัตว์''' มีพระชนมายุเพียง 80 พรรษา พระวรกายสูง 4 ศอก หรือ 2 เมตร บำเพ็ญ[[ทุกรกิริยา]] 6 ปี พุทธรังสีสร้านไปข้างละ 1 วา เป็นปกติ มนุษย์ยุคพุทธกาลสมัยพระองค์มีอายุขัย 100 ปี ขณะที่ทรงพยากรณ์ถึงภิกษุอชิตเถระว่าแต่ในอนาคต เมื่อมนุษย์มีอายุขัย 80,000 ปี จะได้ตรัสรู้เป็นมีพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนาม[[พระศรีอริยเมตไตรย]]<ref name="'อนาคตวงศ์"'>[http://www.84000.org/anakottipitaka/kan1pitaka_item/v.htmlphp?B=11&A=1189&Z=1702#148 อนาคตวงศ์จักกวัตติสูตร]} พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๑ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๓ ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค</ref> ทรงสร้างบารมีมาทาง"วิริยาธิกะพุทธเจ้า" ไม่ได้ทรงพยากรณ์พระชนมายุแต่เทียบกับอายุมนุษย์ในยุคแล้วน่าจะมีพระชมมายุหลักหมื่นปีเป็นอย่างน้อย มีพระวรกายสูงได้ 88 ศอก หรือ 44 เมตร บำเพ็ญทุกกิริยาชาติสุดท้าย 7 วัน พระพุทธรัศมีของพระองค์แผ่ซ่านตลอดไปเบื้องบนจนถึงพรหมโลก เบื้องต่ำตลอดลงไปจนถึงมหาอเวจีนรก มนุษย์ยุคพุทธกาลมีอายุขัย 80,000 ปี
;'''2. สัทธาธิกโพธิสัตว์'''
:คือพระโพธิสัตว์ที่สร้างบารมีโดยใช้ศรัทธาเป็นตัวนำ ระยะเวลาการสร้างบารมีทั้งหมด 40 อสงไขยกับเศษแสนมหากัป คือตั้งความปรารถนาอยู่ในใจเป็นเวลา 14 อสงไขย หลังจากนั้นจึงออกปากกล่าววาจาต่อหน้าพระพักตร์พระพุทธเจ้าเป็นเวลา 18 อสงไขย รวมเป็น 32 อสงไขย และได้รับพุทธพยากรณ์ครั้งแรกเป็น '''พระนิยตโพธิสัตว์ ''' เมื่อเหลือเวลาอีก 8 อสงไขยกับเศษแสนมหากัป เป็นการสร้างบารมีอย่างยิ่งและเข็มงวดขึ้นเรื่อย และได้รับพยากรณ์ซ้ำมาตลอดเมื่อได้พบกับพระพุทธเจ้า จนถึงสมัยพุทธภูมิของท่าน
 
ส่วนเหตุที่ทำให้พระสัจธรรมตั้งอยู่ได้นานหรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับความท้อพระทัยผ่อนคลายของพระพุทธเจ้าในการเผยแผ่ธรรมะแสดง และพระวินัยที่ได้ทรงบัญญัติไว้ <ref name="'เหตุให้พระศาสนาดำรงอยู่ไม่นานและนาน"'>[http://www.84000geocities.orgws/tipitakatmchote/readtpd-mcu/?1/7/12tpd01.htm เหตุให้พระศษสนาดำรงสารีบุตรทูลถามถึงเหตุที่ทำให้พรหมจรรย์ดำรงอยู่ไม่นานและไม่นาน], พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, เล่ม 1, หน้า 11-12</ref>
;'''3. วิริยาธิกโพธิสัตว์'''
:คือพระโพธิสัตว์ที่สร้างบารมีโดยใช้วิริยะเป็นตัวนำ ระยะเวลาการสร้างบารมีทั้งหมด 80 อสงไขยกับเศษแสนมหากัป คือตั้งความปรารถนาอยู่ในใจเป็นเวลา 28 อสงไขย หลังจากนั้นจึงออกปากกล่าววาจาต่อหน้าพระพักตร์พระพุทธเจ้าเป็นเวลา 36 อสงไขย รวมเป็น 64 อสงไขย และได้รับพุทธพยากรณ์ครั้งแรกเป็น '''พระนิยตโพธิสัตว์ ''' เมื่อเหลือเวลาอีก 16 อสงไขยกับเศษแสนมหากัป เป็นการสร้างบารมีอย่างยิ่งและเข็มงวดขึ้นเรื่อย และได้รับพยากรณ์ซ้ำมาตลอดเมื่อได้พบกับพระพุทธเจ้า จนถึงสมัยพุทธภูมิของท่าน
 
ส่วน[[พระพุทธโฆสะ]]แบ่งพระโพธิสัตว์ออกเป็น 2 ประเภทคือ<ref name="พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล">{{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = ราชบัณฑิตยสถาน| ชื่อหนังสือ = พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน| URL = | จังหวัด = พิมพ์ครั้งที่ 3, กรุงเทพฯ| พิมพ์ที่ = ราชบัณฑิตยสถาน| ปี = 2552| ISBN = 978-616-7073-03-3| จำนวนหน้า = 734| หน้า = 108-11}}</ref>
ตามหลักฐานที่ปรากฏในพระไตรปิฎกพบว่า ยิ่งใช้เวลาในการบำเพ็ญบารมีนานเท่าใด พระโพธิสัตว์จะมีพระชนมายุยืนขึ้นในสมัยที่ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า รวมทั้งสัตว์ที่เกิดในยุคนั้นจะมีอายุยืน และบรรลุธรรมได้ง่ายและมีจำนวนมาก แต่ไม่ประกันว่าศาสนาของพระองค์จะยืนยาวหลายชั่วอายุขัย เช่น พระพุทธเจ้าองค์ปัจจุบันนี้ มีพระนามว่า '''[[พระโคตมพุทธเจ้า]]''' พระองค์ทรงสร้างบารมีมาทาง '''ปัญญาธิกโพธิสัตว์''' มีพระชนมายุเพียง 80 พรรษา พระวรกายสูง 4 ศอก หรือ 2 เมตร บำเพ็ญ[[ทุกรกิริยา]] 6 ปี พุทธรังสีสร้านไปข้างละ 1 วา เป็นปกติ มนุษย์ยุคพุทธกาลมีอายุขัย 100 ปี ขณะที่ทรงพยากรณ์ถึงภิกษุอชิตเถระว่าจะได้ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนาม[[พระศรีอริยเมตไตรย]]<ref name="'อนาคตวงศ์"'>[http://www.84000.org/anakot/kan1.html#1 อนาคตวงศ์]</ref> ทรงสร้างบารมีมาทาง"วิริยาธิกะพุทธเจ้า" ไม่ได้ทรงพยากรณ์พระชนมายุแต่เทียบกับอายุมนุษย์ในยุคแล้วน่าจะมีพระชมมายุหลักหมื่นปีเป็นอย่างน้อย มีพระวรกายสูงได้ 88 ศอก หรือ 44 เมตร บำเพ็ญทุกกิริยาชาติสุดท้าย 7 วัน พระพุทธรัศมีของพระองค์แผ่ซ่านตลอดไปเบื้องบนจนถึงพรหมโลก เบื้องต่ำตลอดลงไปจนถึงมหาอเวจีนรก มนุษย์ยุคพุทธกาลมีอายุขัย 80,000 ปี
:# '''อนิยตโพธิสัตว์''' พระโพธิสัตว์ที่ยังไม่ได้รับพยากรณ์จากพระพุทธเจ้าองค์ก่อนมาเลย เรียกว่า '''อนิยตโพธิสัตว์''' ความหมายคือยังไม่แน่นอนว่าจะได้เป็นพระพุทธเจ้า เพราะอาจจะเลิกล้มความปรารถนาเมื่อไรก็ได้
 
:# '''นิยตโพธิสัตว์''' พระโพธิสัตว์ที่ได้รับพยากรณ์จากพระพุทธเจ้าองค์ก่อนมาแล้ว เรียกว่า '''นิยตโพธิสัตว์''' ตามความหมายคือจะได้เป็นพระพุทธเจ้าอย่างแน่นนอน เพราะถ้าถึงนิพพานต้องดำรงค์ฐานะเป็นพระพุทธเจ้าอย่างเดียว แต่ถ้าบารมีและเวลายังไม่สมบูรณ์ แม้ว่าจะพยายามปฏิบัติอย่างยิ่งยวดบังเกิดปัญญาอย่างเยี่ยมยอด ก็ไม่สามารถถึงนิพพานก่อนได้ แม้จะทุกข์ท้อแท้ จนคิดว่าเลิกที่จะเป็นพระพุทธเจ้าแล้ว แต่แล้วในที่สุดมหากุศลที่เป็นอนุสัย ก็จะพุ่งกระจายขึ้นมาให้ตั้งมั่นและบำเพ็ญบารมีกันต่อ จนกว่าบารมีและเวลาสมบูรณ์
ส่วนเหตุที่ทำให้พระสัจธรรมตั้งอยู่ได้นานหรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับความท้อพระทัยของพระพุทธเจ้าในการเผยแผ่ธรรมะ และพระวินัยที่ได้ทรงบัญญัติไว้ <ref name="'เหตุให้พระศาสนาดำรงอยู่ไม่นานและนาน"'>[http://www.84000.org/tipitaka/read/?1/7/12 เหตุให้พระศษสนาดำรงอยู่ไม่นานและนาน]</ref>
 
ส่วน[[พระพุทธโฆสะ]]แบ่งพระโพธิสัตว์ออกเป็น 2 ประเภทคือ<ref name="พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน"/>
 
;'''1. อนิยตโพธิสัตว์'''
:พระโพธิสัตว์ที่ยังไม่ได้รับพยากรณ์จากพระพุทธเจ้าองค์ก่อนมาเลย เรียกว่า '''อนิยตโพธิสัตว์''' ความหมายคือยังไม่แน่นอนว่าจะได้เป็นพระพุทธเจ้า เพราะอาจจะเลิกล้มความปรารถนาเมื่อไรก็ได้
 
;'''2. นิยตโพธิสัตว์'''
:พระโพธิสัตว์ที่ได้รับพยากรณ์จากพระพุทธเจ้าองค์ก่อนมาแล้ว เรียกว่า '''นิยตโพธิสัตว์''' ตามความหมายคือจะได้เป็นพระพุทธเจ้าอย่างแน่นนอน เพราะถ้าถึงนิพพานต้องดำรงค์ฐานะเป็นพระพุทธเจ้าอย่างเดียว แต่ถ้าบารมีและเวลายังไม่สมบูรณ์ แม้ว่าจะพยายามปฏิบัติอย่างยิ่งยวดบังเกิดปัญญาอย่างเยี่ยมยอด ก็ไม่สามารถถึงนิพพานก่อนได้ แม้จะทุกข์ท้อแท้ จนคิดว่าเลิกที่จะเป็นพระพุทธเจ้าแล้ว แต่แล้วในที่สุดมหากุศลที่เป็นอนุสัย ก็จะพุ่งกระจายขึ้นมาให้ตั้งมั่นและบำเพ็ญบารมีกันต่อ จนกว่าบารมีและเวลาสมบูรณ์
 
;[[อสงไขย]] และ [[กัป]]
จากบทความข้างบน ผู้อ่านคงได้อ่านคำว่า '''อสงไขย''' และ '''กัป''' มาแล้ว ผู้เขียนจะอธิบายสั้นๆ ให้ทราบดังนี้
* '''[[กัป]]''' เป็นหน่วยวัดเวลา ในเชิงประมาณ คือ เมื่อจักรวาลปรากฏขึ้นหรือบังเกิดขึ้น จนพังสูญหายไป 1 ครั้งเรียกว่า 1 กัป
* '''[[อสงไขย]]''' เป็นตัวบ่งปริมาณ เช่น เดียวกับ คำว่า สิบ ร้อย พัน หมื่น แสน ล้าน (แต่บางครั้งก็ใช้ในความหมายว่า มากจนนับไม่ถ้วน)
** 1 อสงไขย (ในแง่ของตัวบ่งปริมาณ)มีค่า เท่ากับ โกฏิยกกำลังยี่สิบ หรือ เท่ากับ 10 ยกกำลัง 140 (เลข 1 ตามด้วย เลข 0 ถึง 140 ตัว)
 
(บางคนสับสน เข้าใจว่า 1 อสงไขย คือ จำนวนกัปที่มี เลข 1 ตามด้วย เลข 0 ถึง 140 ตัว อันนี้เป็นความเข้าใจที่ผิด เพราะ '''อสงไขยไม่ใช่กัป''' แต่อสงไขยเป็นตัวบ่งปริมาณ สามารถใช้กับอะไรก็ได้ เช่น อสงไขยปี หรือ อสงไขยชาติ หรือ อสงไขยกัป เป็นต้น)
 
* '''สูญกัป''' หมายถึงกัปที่ไม่มีพระพุทธเจ้าบังเกิดขึ้น
 
=== บารมี 30 ทัศ ===
เส้น 83 ⟶ 69:
;'''อานิสงส์ บารมี 30 ทัศ ของพระนิยตโพธิสัตว์'''
 
:พระนิยตโพธิสัตว์เมื่อได้รับพุทธพยากรณ์เป็นครั้งแรก จะมีอานิสงค์ 18 อย่างอยู่ตลอด จนได้ตรัสรู้ เป็นพระพุทธเจ้า ได้แก่
# เมื่อเกิดเป็นมนุษย์ ย่อมไม่เกิดเป็นคนมีจักษุบอดมาแต่กำเนิด
# ไม่เป็นหูหนวกแต่กำเนิด
เส้น 92 ⟶ 78:
# ไม่เกิดในท้องนางทาสี (แต่เกิดในฐานะคนจัณฑาลได้ ดัง พระโพธิสัตว์ มาตังคะฤๅษี ท่านเป็นบุตรคนจัณฑาล แต่ไม่ได้เป็นนางทาสี) นางทาสีคือ ทาสที่เป็นผู้หญิง ที่เกิดมาก็ตกเป็นทาสทันที (ทาสในเรือนเบี้ย)
# ไม่เป็นนิยตมิจฉาทิฐิ
# ไม่เป็นสตรีเพศ
# ไม่เป็นสตรีเพศ (ยกเว้น[[พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์]]ในร่างเจ้าแม่[[กวนอิม]] [[พระมหาสถามปราปต์โพธิสัตว์]] และ[[พระนางตารา]])
# ไม่ทำ[[อนันตริยกรรม]]
# ไม่เป็นโรคเรื้อน
# เมื่อเกิดเป็นสัตว์เดียรฉาน มีกายไม่เล็กกว่านกกระจาบ และ ไม่ใหญ่ไปกว่าช้าง
เส้น 106 ⟶ 92:
 
== คุณสมบัติและอัธยาศัยของพระโพธิสัตว์ ==
 
=== ธรรมสโมธาน 8 ประการ ===
 
เส้น 121 ⟶ 106:
# เคยให้ชีวิตของตนเป็นทาน เพื่อสัมโพธิญาณมาก่อนในอดีดชาติ
# ต้องมี ฉันทะ คือมีความรักความพอใจในพุทธภูมิเป็นกำลัง
 
 
:กล่าวถึงพุทธภูมิธรรมของนิยตโพธิสัตว์ ในการเพิ่มพูนบารมีให้มากยิ่งขึ้น มีน้ำใจประกอบไปด้วย '''พุทธภูมิธรรม 4 ประการ''' คือ
เส้น 128 ⟶ 112:
# '''อวัตถานัง''' คือมีพระทัยอธิษฐานอันมั่นคง มิได้หวั่นไหวคลอนแคลน
# '''หิตจริยา''' คือประกอบไปด้วยพระเมตตา เจริญจิตอยู่ด้วยพรหมวิหารเป็นปกติ
 
 
:'''อัธยาศัย''' ที่ทำให้พระโพธิญานของนิยตโพธิสัตว์แก่กล้ายิ่งขึ้น มี 6 ประการ
เส้น 177 ⟶ 160:
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[โพธิสัตตวจารยาวตารตวจรรยาวตาร]]
* [[โพธิสัตว์ศีล]]
* [[ทศภูมิ]]
เส้น 190 ⟶ 173:
* [http://www.buddhismuskunde.uni-hamburg.de/fileadmin/pdf/publikationen/HamburgUP_HBS01_Analayo.pdf The Genesis of the Bodhisattva Ideal] by Bhikkhu Analayo (PDF Document; 5,8 MB)
 
[[หมวดหมู่:พระโพธิสัตว์|* ]]