ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศภูฏาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 54:
| footnotes =
}}
 
'''ภูฏาน (Bhutan) ''' (อ่านว่า พู-ตาน {{Audio|Bhutan.ogg|/{{IPA|buː'tɑːn}}/}}) <ref>[http://www.royin.go.th/th/news/news-content.php?ID=196 การเขียนและอ่านชื่อ ประเทศภูฏาน] - ราชบัณฑิตยสถาน</ref> หรือชื่อทางการคือ '''ราชอาณาจักรภูฏาน (Kingdom of Bhutan) '''<ref> ชื่อประเทศ มาจากคำสมาสในภาษาสันสกฤต ภู-อุตฺตาน อันมีความหมายว่า "แผ่นดินบนที่สูง"</ref> เป็นประเทศในภูมิภาค[[เอเชียใต้]]ที่มีขนาดเล็ก และมี[[ภูเขา]]เป็นจำนวนมาก ตั้งอยู่ใน[[เทือกเขาหิมาลัย]]ระหว่าง[[ประเทศอินเดีย]]กับ[[ประเทศจีน|จีน]]
 
ชื่อในภาษาท้องถิ่นของประเทศคือ ''Druk Yul'' (อ่านว่า ''ดรุก ยุล'') แปลว่า "ดินแดนของมังกรสายฟ้า (Land of the Thunder Dragon) " นอกจากนี้ยังเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ''Druk Tsendhen'' เนื่องจากที่ภูฏาน เสียงสายฟ้าฟาดถือเป็นเสียงของ[[มังกร]] ส่วนชื่อ ''ภูฏาน'' (Bhutan) มาจากคำสมาสในภาษาสันสกฤต ภู-อุฏฺฏาน อันมีความหมายว่า "แผ่นดินบนที่สูง" (ในภาษาฮินดี สะกด भूटान ถอดเป็นตัวอักษรคือ ภูฏาน)
 
== ประวัติศาสตร์ ==
[[ไฟล์:Cloud-hidden, whereabouts unknown (Paro, Bhutan).jpg|thumb|left|200px|[[พระราชวัง]]โบราณใน[[มณฑลพาโร]] ]]
ในปี [[พ.ศ. 2173]] [[ดรุกปา ลามะ]] ลี้ภัยจาก[[ทิเบต]]สู่ภูฏาน ต่อมาได้ตั้งตัวขึ้นเป็น [[ธรรมราชา]] ปกครองครองดินแดนด้วยระบบศาสนเทวราช มีคณะรัฐมนตรีช่วย 4 ตำแหน่ง แม้ภูฏานจะพยายามแยกตัวอยู่อย่างโดดเดี่ยว แต่ต่อมาก็ถูกรุกรานจากประเทศเพื่อนบ้านโดยเฉพาะทิเบตอยู่หลายครั้งในช่วงพุทธศตวรรษที่ 22 ถึง 23 ในระยะต่อมาก็ยังถูกรุกรานโดยอังกฤษซึ่งมีอำนาจอยู่ในอินเดียก่อนที่จะได้เจรจาสงบศึกกัน ในปี [[พ.ศ. 2453]]
 
== การเมือง ==
[[ไฟล์:King Jigme Khesar Namgyel Wangchuck (edit).jpg|thumb|left|180px|สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก]]
มีองค์พระมหากษัตริย์เป็นประมุข ภายใต้การปกครองโดย [[สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก]] เป็นพระมหากษัตริย์ลำดับที่ 5 ของ[[ราชวงศ์วังชุก]]
ทรงปกครองประเทศโดยมีคณะองคมนตรีเป็นที่ปรึกษา และสภาแห่งชาติที่เรียกว่า ซงดู (Tsongdu) ทำหน้าที่ในการออกกฎหมาย ประกอบด้วยสมาชิก 161 คน
* สมาชิก 106 คน มาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน
* สมาชิก 55 คน มาจากการแต่งตั้งของพระมหากษัตริย์
ในสมัยศตวรรษที่ 17 นักบวช ซับดุง นาวัง นำเยล (Zhabdrung Ngawang Namgyal) ได้รวบรวมภูฏานให้เป็นปึกแผ่นและก่อตั้งเป็นประเทศขึ้น และในปี 2194 นักบวชซับดุงได้ริเริ่มการบริหารประเทศแบบสองระบบ คือ แยกเป็นฝ่ายฆราวาสและฝ่ายสงฆ์ ภูฏานใช้ระบบการปกครองดังกล่าวมาเป็นเวลากว่าสองศตวรรษ จนกระทั่งเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2450 พระคณะที่ปรึกษาแห่งรัฐ ผู้ปกครองจากมณฑลต่าง ๆ ตลอดจนตัวแทนประชาชนได้มารวมตัวกันที่เมืองพูนาคา และทำการเลือกอย่างเป็นเอกฉันท์ให้ อูเก็น วังชุก (Ugyen Wangchuck) ซึ่งขณะนั้นเป็นผู้ปกครองเมืองตองซา (Trongsa) ขึ้นเป็นกษัตริย์องค์แรกของภูฏาน โดยดำรงตำแหน่งเป็นสมเด็จพระราชาธิบดีองค์แรกแห่งราชวงศ์วังชุก (Wangchuck) เนื่องจากคุณสมบัติที่โดดเด่นของพระองค์ตั้งแต่ครั้งยังทรงดำรงตำแหน่งเป็นผู้ปกครองเมืองตองซา ทรงมีลักษณะความเป็นผู้นำและเป็นผู้นำที่เคร่งศาสนาและมีความตั้งพระทัยแน่วแน่ที่จะยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชนให้ดีขึ้น ราชวงศ์วังชุกปกครองประเทศภูฏานมาจนถึงปัจจุบันสมเด็จพระราชาธิบดีองค์ปัจจุบันคือ สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก (Jigme Khesar Namgyal Wangchuck) ขึ้นครองราชสมบัติเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2549 เป็นสมเด็จพระราชาธิบดีองค์ที่ 5 แห่งราชวงศ์วังชุก
เส้น 77 ⟶ 78:
{|
|
# [[มณฑลบุมทัง]] (བུམ་ཐང་རྫོང་ཁག་ )
# [[มณฑลชูคา]] (ཆུ་ཁ་རྫོང་ཁག་ )
# [[มณฑลดากานา]] (དར་དཀར་ན་རྫོང་ཁག་)
# [[มณฑลกาซา]] (མགར་ས་རྫོང་ཁག་)
เส้น 85 ⟶ 86:
# [[มณฑลมองการ์]] (མོང་སྒར་རྫོང་ཁག་)
# [[มณฑลพาโร]] (སྤ་རོ་རྫོང་ཁག་)
# [[มณฑลเปมากัตเซล]] (པདྨ་དགའ་ཚལ་རྫོང་ཁག་ )
# [[มณฑลพูนาคา]] (སྤུ་ན་ཁ་རྫོང་ཁག་)
|
<ol start = "11">
<li>[[มณฑลซัมดรุปจงคาร์]] (བསམ་གྲུབ་ལྗོངས་མཁར་རྫོང་ཁག་ )
<li>[[มณฑลซัมชิ]] (བསམ་རྩེ་རྫོང་ཁག་)
<li>[[มณฑลซาร์ปัง]] (གསར་སྤང་རྫོང་ཁག་)
เส้น 95 ⟶ 96:
<li>[[มณฑลตาชิกัง]] (བཀྲིས་སྒང་རྫོང་ཁག་)
<li>[[เขตตาชิยังต์ซี]] (གཡང་རྩེ་རྫོང་ཁག་)
<li>[[มณฑลตงซา]] (ཀྲོང་གསར་རྫོང་ཁག་ )
<li>[[มณฑลชิรัง]] (རྩི་རང་རྫོང་ཁག་ )
<li>[[มณฑลวังดีโพดรัง]] (པདྨ་དགའ་ཚལ་རྫོང་ཁག་ )
<li>[[มณฑลเชมกัง]] (གཞལམ་སྒང་རྫོང་ཁག་)
</ol>
|}
 
เส้น 106 ⟶ 107:
[[ไฟล์:Takstan-monastery.jpg|thumb|วัดป่าทักชัง - Taktshang Goemba หรือ "รังเสือ - Tiger Nest" อันเป็นที่เคารพสักการะยิ่งของชาวพุทธในภูฏาน ตั้งอยู่บนหน้าผาสูง 900 เมตรชายเขตเมืองปาโร - [http://maps.google.com/maps?ll=27.491884,89.363544&spn=0.011706,0.026157&t=h&z=16&vpsrc=6&lci=com.panoramio.all maps.google]]]
* '''สัตว์ประจำชาติ''' : [[ทาคิน]] เป็นสัตว์ที่หายาก เพราะมีอยู่ในดินแดนภูฏานเพียงแห่งเดียว และอยู่ในสถานะใกล้สูญพันธุ์ มีลักษณะคล้าย[[วัว]]ผสม[[แพะ]]ตัวใหญ่ มีเขา ขนตามตัวมีสีดำ มักจะอาศัยอยู่กันเป็นฝูงในป่าโปร่ง บนความสูงกว่า 4,000 เมตรเหนือระดับน้ำทะเลขึ้นไป ชอบกิน[[ไม้ไผ่]]เป็นอาหาร
* '''ต้นไม้''' : [[ต้นสนไซปรัส]]นิยมปลูกตามวัด
* '''ดอกไม้ประจำชาติ''' : ดอก[[ป๊อปปี้]]สีฟ้า เป็นดอกไม้ป่าที่พบตามเขตภูเขาในภูฏาน
* '''อาหารประจำชาติ''' : อาหารพื้นบ้านเป็นอาหารเรียบง่าย อาหารหลักเป็นทั้ง[[ข้าว]] [[บะหมี่]] [[ข้าวโพด]] ยังนิยมเคี้ยว[[หมาก]]อยู่ อาหารส่วนใหญ่ประกอบด้วยพริก ผักและมันหมู อาหารประจำชาติคือ Ema datshi ซึ่งประกอบด้วยพริกสดกับซอสเนยต้มกับ[[หัวไชเท้า]] มันหมูและหนังหมู ชาวภูฏานนิยมอาหารรสจัด เครื่องดื่มมักเป็นชาใส่นมหรือน้ำตาล ในฤดูหนาวนิยมดื่มเหล้าหมักที่ผสมข้าวและไข่ ไม่นิยมสูบ[[บุหรี่]] นอกจากนั้นมีอาหารจาก[[ทิเบต]] เข่นซาลาเปาไส้เนื้อ ชาใส่เนยและเกลือ และอาหารแบบ[[เนปาล]]ในภาคใต้ที่กินข้าวเป็นหลัก
* [[ธงชาติภูฏาน]]
** สีเหลือง ครึ่งบนของธงชาติ หมายถึง อำนาจของพระมหากษัตริย์ เป็นสีที่แสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองทั้งทางโลกและทางธรรม
** สีส้ม ครึ่งล่างของธงชาติ หมายถึง การปฏิบัติธรรมและความเลื่อมใสและศรัทธาของชาวภูฏานที่มีต่อ[[ศาสนาพุทธ]]
** มังกรที่อยู่ตรงกลางของธงชาติ หมายถึง ประเทศดรุกยุล มีความหมายว่าดินแดนแห่งมังกรสายฟ้า ตัวมังกรมีสีขาวบริสุทธิ์ อันเป็นการแสดงออกถึงความจงรักภักดีของคนทุกเชื้อชาติ ทุกภาษาที่อยู่ในประเทศ ท่าทีที่มังกรกำลังอ้าปากคำรามนั้น แสดงออกถึงความมีอำนาจน่าเกรงขามของเหล่าพระผู้เป็นเจ้าทั้งชายและหญิงที่ปกป้องภูฏาน
 
เส้น 125 ⟶ 126:
เนื่องจากภูฏานเป็นประเทศขนาดเล็ก ลักษณะภูมิอากาศจึงไม่แตกต่างกันมากนัก โดยมากเป็นภูมิอากาศแบบกึ่งร้อนมีฝนชุก ยกเว้นตอนเหนือซึ่งเป็นภูเขาสูง ทำให้มีอากาศแบบหนาวเทือกเขา
 
อากาศ กลางวัน 25 - 15 องศาเซลเซียส กลางคืน 10 - 5 องศาเซลเซียส มี 4 ฤดู คือ
 
* ฤดูใบไม้ผลิ จะอยู่ในช่วงเดือนมีนาคม - พฤษภาคม ช่วงนี้อากาศจะอบอุ่นและอาจมีฝนประปราย
* ฤดูร้อน จะอยู่ในช่วงเดือนมิถุนายน - สิงหาคม ช่วงนี้จะมีพายุฝน ตามเทือกเขาจะเขียวชอุ่ม
* ฤดูใบไม้ร่วง จะอยู่ในช่วงเดือนกันยายน - พฤศจิกายน ช่วงนี้อากาศจะเย็น ท้องฟ้าแจ่มใส เหมาะแก่การเดินเขา
* ฤดูหนาว จะอยู่ในช่วงเดือนธันวาคม - กุมภาพันธ์ อากาศจัดเย็นจัดตอนกลางคืนและรุ่งเช้า และจะมีหมอกหนา บางครั้งโดยเฉพาะในช่วงเดือนมกราคม อาจมีหิมะตกบ้าง
 
เส้น 142 ⟶ 143:
== ทรัพยากรธรรมชาติ ==
ในภูฏานมีพื้นที่ป่าถึง 60% มีอุทยานแห่งชาติ 4 แห่ง เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า 4 แห่ง และเขตสงวนธรรมชาติ 1 แห่ง คิดเป็น 35% ของพื้นที่ประเทศ ในพื้นที่ดังกล่าวมีสัตว์และพืชหายากมากกว่า 7,000 ชนิด มีกล้วยไม้เฉพาะถิ่น 300 เขต และพันธุ์ไม้หายากอีกราว 500 ชนิด และมีสมุนไพรหายากราว 150 ชนิด
 
== ประชากร ==
[[ไฟล์:Bhutanese people.jpg|thumb|250px|ชาวภูฏาน]]
* '''จำนวนประชากร''' 752,700 คน (เมื่อปี พ.ศ. 2547) เป็นชาย 380,090 คน และหญิง 372,610 คน<br />
* '''อัตราการเพิ่มของประชากรร้อยละ''' 2.14 (เมื่อปี พ.ศ. 2546) <br />
* '''เชื้อชาติ''' ประกอบด้วย 3 เชื้อชาติ ได้แก่
** ชาร์คอป (Sharchops) ชนพื้นเมืองดั้งเดิม ส่วนใหญ่อยู่ทางภาคตะวันออก
** งาลอบ (Ngalops) ชนเชื้อสายธิเบต ส่วนใหญ่อยู่ทางภาคตะวันตก
** โลซาม (Lhotshams) ชนเชื้อสายเนปาล ส่วนใหญ่อยู่ทางใต้''
 
เส้น 154 ⟶ 156:
** กลุ่ม[[ดรุกปา]] ซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ
*** กลุ่มเชื้อสาย[[ธิเบต]]
*** กลุ่มซังลา ที่ถือว่ามีจำนวนมากที่สุด เนื่องจากจะแยกออกตามภาษาท้องถิ่นที่ใช้ที่มีประมาณ 11 ภาษา กลุ่มนี้จะอาศัยทางทิศตะวันออกของประเทศ
** กลุ่ม [[เนปาล]] คือส่วนใหญ่จะอาศัยอยู่ทางตอนใต้ของประเทศ แต่ปัจจุบันนี้ทางรัฐบาลของประเทศภูฏาน ได้พยายามผลักดันให้ประชากรเหล่านี้กลับไปยังถิ่นฐานเดิมคือประเทศเนปาล
** กลุ่มชนอื่น ๆ อีก 13% คือชาว[[ธิเบต]] ชาว[[สิกขิม]] และชาวอินเดีย
 
เส้น 166 ⟶ 168:
** วันชาติ ตรงกับวันที่ 17 ธันวาคม ซึ่งเป็นวันที่กษัตริย์องค์แรกของราชวงศ์วังชุกขึ้นครองราชย์
** วันขึ้นปีใหม่ ขึ้นกับปฏิทินทางจันทรคติและแตกต่างไปในแต่ละท้องถิ่นโดยทั่วไปในงานจะมีการแข่งขันยิงธนู ไหว้พระ บูชาเทพเจ้า และรับประทานอาหารร่วมกันภายในครอบครัว
 
== ศาสนา ==
ประชาชนชาวภูฏานนับถือ [[ศาสนาพุทธ]][[นิกายมหายาน]] ([[ตันตรยาน]] หรือบ้างก็เรียกว่า [[วัชรยาน]]) 75% [[ศาสนาฮินดู]] 24% [[ศาสนาอิสลาม]] 0.7% และ [[ศาสนาคริสต์]] 0.3%
 
:''ดูเพิ่มเติมได้ที่ [[พุทธศาสนาในประเทศภูฏาน]]''
เส้น 187 ⟶ 190:
* [http://www.fringer.org/?p=129 ภูฏาน: อารยธรรมแห่งสุดท้าย?] บทความแนะนำภูฏานโดยคนชายขอบ
* [http://www.mfa.go.th/web/2386.php?id=299 ข้อมูลราชอาณาจักรภูฏานจากเว็บไซต์กระทรวงต่างประเทศ]
 
{{ประเทศภูฏาน}}
{{เอเชีย}}