ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เลอ็อนฮาร์ท อ็อยเลอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
AlphamaBot (คุย | ส่วนร่วม)
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับปรุง + เพิ่มเนื้อหา
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Leonhard Euler.jpg|frame|right|ภาพของเลออนฮาร์ด ออยเลอร์ วาดโดยจิตรกร [[เอ็มมานูเอล แฮนด์มันน์ฮันด์มันน์]] (Emanuel Handmann) เมื่อ ค.ศ.1753]]
[[ไฟล์:Leonhard Euler.jpeg|thumb|เลออนฮาร์ด ออยเลอร์ อายุ 49 ปี (รูปสีน้ำมันโดย [[Emanuel Handmann]] ปีค.ศ. 1756)]]
 
'''เลออนฮาร์ด ออยเลอร์''' ({{lang-de|Leonhard Euler)}}, ([[15 เมษายน]] [[พ.ศ. 2250]] - [[18 กันยายน]] [[พ.ศ. 2326]]) เป็น[[นักคณิตศาสตร์]]และ[[นักฟิสิกส์]]ชาว[[สวิตเซอร์แลนด์|สวิส]] เขาได้ชื่อว่าเป็นนักคณิตศาสตร์ที่ยิ่งยิ่งใหญ่ที่สุดคนหนึ่งเท่าที่เคยไม่มีของโลก เลออนฮาร์ด ออยเลอร์ เป็นคนบุคคลแรกที่เริ่มใช้คำว่า "[[ฟังก์ชัน (คณิตศาสตร์)|ฟังก์ชัน]]" ในแวดวงคณิตศาสตร์ (ตามคำนิยามของ[[กอทท์ฟรีด วิลเฮล์ม ไลบ์นิซ|ไลบ์นิซ]] ใน ค.ศ. 1694) ในการบรรยายถึงความสัมพันธ์ ที่เกี่ยวข้องกับตัวแปร เช่น ''y'' = Ff(''x'') นอกจากนี้ เขายังได้ชื่อว่าเป็นคนแรกที่ประยุกต์นำ[[แคลคูลัส]]เข้าไปยังวิชาประยุกต์ในศาสตร์[[ฟิสิกส์]]
 
ออยเลอร์เกิดและโตในเมือง[[บาเซิล]] เขาเป็นเด็กที่มีความเป็นอัจริยะอัจฉริยะทางคณิตศาสตร์ เขาเป็นศาสตราจารย์สอนวิชาคณิตศาสตร์ที่[[เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก]] และต่อมาก็สอนที่[[เบอร์ลิน]] และได้ย้อนกลับไปตายอีกครั้งอยู่ที่เซนต์ปีเตอร์สเบิร์กจวบจนวาระสุดท้ายของชีวิต เขาเป็นนักคณิตศาสตร์มีผลงานมากมายที่สุดคนหนึ่ง ผลงานทั้งหมดของเขารวบรวมได้ถึง 75 เล่ม ผลงานของเขาเหล่านี้มีอิทธิพลอย่างมากต่อผลงานทางการพัฒนาของคณิตศาสตร์ในศตวรรษที่ 18 เขาต้องออยเลอร์สูญเสียการมองเห็น และตาบอดสนิทตลอด 17 ปีสุดท้ายในชีวิตของเขา ซึ่งถึงกระนั้น ในช่วงนี้เองที่เขาสามารถผลิตผลงานได้มากถึงเกือบครึ่งหนึ่งของผลงานทั้งหมดของที่เขาผลิตขึ้นมา
 
[[ดาวเคราะห์น้อย]] [[2002 ออยเลอร์]] ตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่เขา
 
==ผลงาน==
==การคำนวณทางคณิตศาสตร์==
[[ไฟล์:Euler's formula.svg|thumb|การตีความหมายเชิงเรขาคณิตของ[[สูตรของออยเลอร์]]]]
ผลงานการคิดค้นสัญลักษณ์ฟังก์ชัน เพื่อสร้างตัวแปร มีผลงานที่โดดเด่านทางด้านคณิตศาสตร์และฟิสิกส์มากมาย
ออยเลอร์มีผลงานในแทบทุกสาขาของวิชาคณิตศาสตร์ เช่น [[เรขาคณิต]] [[แคลคูลัส]] [[ตรีโกณมิติ]] [[พีชคณิต]] [[ทฤษฎีจำนวน]] เป็นต้น เช่นเดียวกับแวดวงฟิสิกส์ เช่น ผลงานเรื่อง[[กลศาสตรความตอเนื่อง]] [[ทฤษฎีการเคลื่อนที่ของดวงจันทร์]] เป็นต้น ออยเลอร์ถือว่าเป็นบุคคลสำคัญคนหนึ่งในประวัติศาสตร์แห่งคณิตศาสตร์
 
ออยเลอร์ได้รับการตั้งเป็นชื่อของจำนวน 2 จำนวน อันได้แก่ [[e (ค่าคงตัว)|จำนวนของออยเลอร์]] (''e'') ซึ่งมีค่าประมาณ 2.71828 และ [[ค่าคงตัวออยเลอร์-แมสเชโรนี]] ([[แกมมา|γ]]) มีค่าประมาณ 0.57721
ตัวอย่างระบบสมการ
 
ตัวอย่างสูตรคณิตศาสตร์ที่ออยเลอร์คิดค้น
 
:<math>e^x = \sum_{n=0}^\infty {x^n \over n!} = \lim_{n \to \infty}\left(\frac{1}{0!} + \frac{x}{1!} + \frac{x^2}{2!} + \cdots + \frac{x^n}{n!}\right).</math>
เส้น 17 ⟶ 19:
:<math>\sum_{n=1}^\infty {1 \over n^2} = \lim_{n \to \infty}\left(\frac{1}{1^2} + \frac{1}{2^2} + \frac{1}{3^2} + \cdots + \frac{1}{n^2}\right) = \frac{\pi ^2}{6}.</math>
 
:<math>e^{i\varphi} = \cos \varphi + i\sin \varphi.\,</math> — [[สูตรของออยเลอร์]] : สมการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างฟังก์ชัน[[ตรีโกณมิติ]]กับฟังก์ชัน[[เลขชี้กำลัง]][[จำนวนเชิงซ้อน|เชิงซ้อน]]
:<math>e^{i\varphi} = \cos \varphi + i\sin \varphi.\,</math>
 
:<math>e^{i \pi} +1 = 0 \, </math> — [[เอกลักษณ์ของออยเลอร์]] : เป็นกรณีหนึ่งของสูตรออยเลอร์ (<math>\varphi = \pi</math>) โดยแสดง[[ค่าคงตัว]]ทางคณิตศาสตร์ถึง 5 อย่าง (ได้แก่ [[e (ค่าคงตัว)|e]], [[จำนวนเชิงซ้อน|i]], [[พาย (ค่าคงตัว)|π]], [[1]], [[0]])
:<math>e^{i \pi} +1 = 0 \, </math>
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[แผนภาพออยเลอร์]]
* [[นักคณิตศาสตร์]]
* [[ปริพันธ์ออยเลอร์]]
* [[นักฟิสิกส์]]
* [[ข้อความคาดการณ์ของออยเลอร์]]
* [[สะพานทั้งเจ็ดแห่งเมืองเคอนิกส์แบร์ก]]
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.eulerarchiveleonhardeuler.orgcom/ ผลงานของออยเลอร์Leonhardeuler.com]
* [http://www.eulerarchive.org/ eulerarchive.org] เว็บไซด์รวบรวมผลงานของออยเลอร์
 
{{เกิดปี|2250}}
{{ตายปี|2326}}
 
 
[[หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2250]]