ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
| สีพิเศษ = orange
| ภาพ = ไฟล์:Maha Sura Singhanat.jpg
| caption = ''"สมเด็จพระบวรราชเจ้า กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท"''
| พระนาม = สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท
| พระนามเต็ม =
บรรทัด 19:
| วันสวรรคต = [[3 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2346]]<br> (59 พรรษา)
| พระอิสริยยศ =
| พระราชบิดา =
| พระบิดา = [[สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก]] (ทองดี)
| พระบิดาราชมารดา =
| พระราชมารดา = พระอัครชายา (หยก)
| พระมารดา =
| มารดา =
| พระชายาพระอัครชายา = [[พระอัครชายาเธอ เจ้าครอกศรีอโนชา|เจ้าครอกศรีอโนชา]]
| ชายา =
| หม่อม =
บรรทัด 34:
}}
 
'''สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท''' หรือ '''กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท''' พระนามเดิม '''บุญมา''' เป็นพระราชภาตาอนุชาร่วมพระราชชนกชนนี กับ[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 5 ใน[[สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก]] (ทองดี) และพระชนนีหยก ประสูติในรัชกาล[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ]] สมัยกรุงศรีอยุธยา เมื่อวันพฤหัสบดีขึ้น 1 ค่ำ เดือน 11 ปีกุน [[พ.ศ. 1186|พ.ศ. 2286]] มีนิวาสถานอยู่หลัง[[ป้อมเพชร]] ใน[[กรุงศรีอยุธยา]] เมื่อทรงเจริญวัยได้รับราชการเป็นมหาดเล็กตำแหน่งนายสุดจินดา มหาดเล็กหุ้มแพร ในรัชกาล[[สมเด็จพระเจ้าเอกทัศน์]] มีพระเชษฐา พระเชษฐภคิณี พระอนุชาร่วมพระชนก ประกอบด้วย
* [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยาเทพสุดาวดี]] (นามเดิมว่า สา) พระเชษฐภคินี พระองค์ใหญ่
* [[สมเด็จพระเจ้าขุนรามณรงค์]] (นามเดิมว่า ราม) พระเชษฐา พระองค์ใหญ่
* [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์]] (นามเดิมว่า แก้ว) พระเชษฐภคินี พระองค์รอง
* [[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]] (นามเดิมว่า ด้วง) พระเชษฐา พระองค์รอง
* '''สมเด็จพระบวรราชเจ้า กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท''' (นามเดิมว่า บุญมา)
* [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าลา กรมหลวงจักรเจษฎา]] (นามเดิมว่า ลา) พระอนุชา ต่างพระชนนี
* [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากุ กรมหลวงนรินทรเทวี]] (นามเดิมว่า กุ) พระขนิษฐา ต่างพระชนนี
บรรทัด 61:
* พ.ศ. 2315 เจ้าพระยาสุรสีหพิษณวาธิราช ได้ยกทัพไปปราบพม่าที่ยกมาตีเมือง[[ลับแล]] หรือ[[อุตรดิตถ์]] และเมือง[[พิชัย]]จนแตกพ่ายไป
* พ.ศ. 2316 เจ้าพระยาสุรสีหพิษณวาธิราช และพระยาพิชัย ได้ยกทัพไปรบถึงประจัญบาน กับทัพโปสุพลาที่เมืองพิชัย จนข้าศึกแตกพ่าย ครั้งนี้เองที่พระยาพิชัยได้รับสมญานามว่า "พระยาพิชัยดาบหัก"
* พ.ศ. 2317 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี โปรดให้พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ซึ่งขณะนั้นเป็น เจ้าพระยาจักรี กับเจ้าพระยาสุรสีหพิษณวาธิราช ยกทัพหัวเมืองเหนือไปตีเมืองเชียงใหม่ มีชัยชนะ และเจ้าพระยาสุรสีหพิษณวาธิราชได้คุมทัพเหนือไปล้อมทัพพม่าที่เขาชะงุ้ม ตีค่ายพม่าที่เขาชะงุ้ม และปากแพรกแตกจนพม่ายอมแพ้
ที่เขาชะงุ้ม ตีค่ายพม่าที่เขาชะงุ้ม และปากแพรกแตกจนพม่ายอมแพ้
* พ.ศ. 2318 เจ้าพระยาสุรสีหพิษณวาธิราช และเจ้าพระยาจักรี ได้รับพระราชบัญชาให้ยกทัพจากพิษณุโลกไปขับไล่โปสุพลา ที่ยกมาตีเมืองเชียงใหม่ และต่อมา[[อะแซหวุ่นกี้]] ยกมาล้อมเมืองพิษณุโลก เจ้าพระยาทั้งสองจึงนำไพล่พลออกจากพิษณุโลกไปตั้งมั่นที่เมืองเพชรบูรณ์ ต่อมาพม่าถอนกำลัง จึงได้คุมกำลังเมืองนครราชสีมาติดตามตีทัพที่กำลังถอยแตกกลับไป
* พ.ศ. 2320 ได้ยกทัพจากกรุงธนบุรีไปสมทบทัพเจ้าพระยาจักรีที่นครราชสีมา ตีเมืองนคร[[จำปาศักดิ์]] เมือง[[อัตบือ]] [[สุรินทร์]] [[สังขะ]] [[ขุขันธ์]] ไว้ได้ จากความชอบในการพระราชสงครามครั้งนี้ เจ้าพระยาจักรี ได้รับเลื่อนบรรดาศักดิ์เป็น "สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก"
* พ.ศ. 2321 สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก กับเจ้าพระยาสุรสีหพิษณวาธิราช เกณฑ์ทัพเรือจากกัมพูชา ไปล้อมเมืองเวียงจันทน์ 4 เดือนจึงตีได้ และตีหัวเมืองต่างๆ ในแคว้นลาวจนจดตังเกี๋ยของญวนไว้ได้ด้วย และในครั้งนั้น สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกได้อัญเชิญ[[พระพุทธมหามุนีรัตนปฏิมากร]] กลับคืน[[เวียงจันทน์]]มาประดิษฐานที่กรุงธนบุรีด้วย
* พ.ศ. 2324 เจ้าพระยาสุรสีหพิษณวาธิราช เป็นแม่ทัพหน้าร่วมกับสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก ยกทัพไปตีกัมพูชา แต่ต้องเสด็จกลับกรุงธนบุรี เนื่องจากสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงพระประชวร บ้านเมืองเกิดจลาจล สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกได้เสด็จปราบดาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์ รัชกาลที่ 1 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ทรงสถาปนาพระบรมราชจักรีวงศ์ และสถาปนากรุงเทพมหานคร เป็นราชธานี เจ้าพระยาสุรสีหพิษณวาธิราช ได้รับสถาปนาเป็น สมเด็จพระมหาอุปราช กรมพระราชวังบวรสถานมงคล บันทึกบางฉบับจะเอ่ยพระนามว่า สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวกรมพระราชวังบวรสถานมงคลบ้าง สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทั้งสองพระองค์บ้าง (หมายความรวมถึงรัชกาลที่ 1 และสมเด็จวังหน้า) ไม่เป็นที่แน่นอน ซึ่งพระนามนี้ต่อมาพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงกำหนดระเบียบเกี่ยวกับพระเกียรติเจ้านายใหม่ โดยให้ขานพระนามว่า สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท
เป็นพระมหากษัตริย์ รัชกาลที่ 1 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ทรงสถาปนาพระบรมราชจักรีวงศ์ และสถาปนากรุงเทพมหานคร เป็นราชธานี เจ้าพระยาสุรสีหพิษณวาธิราช ได้รับสถาปนาเป็น สมเด็จพระมหาอุปราช กรมพระราชวังบวรสถานมงคล บันทึกบางฉบับจะเอ่ยพระนามว่า สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวกรมพระราชวังบวรสถานมงคลบ้าง สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทั้งสองพระองค์บ้าง (หมายความรวมถึงรัชกาลที่ 1 และสมเด็จวังหน้า) ไม่เป็นที่แน่นอน ซึ่งพระนามนี้ต่อมาพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงกำหนดระเบียบเกี่ยวกับพระเกียรติเจ้านายใหม่ โดยให้ขานพระนามว่า สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท
ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท ได้ทรงร่วมการพระราชสงคราม ระหว่าง พ.ศ. 2325 ถึง พ.ศ. 2345 รวม 8 ครั้ง คือ
เส้น 76 ⟶ 74:
* พ.ศ. 2336 เสด็จไปตีเมือง[[ทวาย]]สำเร็จ
* พ.ศ. 2340 เสด็จยกทัพไปป้องกันเมืองเชียงใหม่ ตีพม่าที่[[ลำพูน]] และเชียงใหม่แตก
* พ.ศ. 2345 ได้เสด็จไปขับไล่กองทัพข้าศึกออกจาก[[เชียงใหม่]] แต่เมื่อเสด็จไปถึงเมืองเถิน ทรงพระประชวรโรคนิ่ว ต้องประทับรักษาพระองค์โดยมี[[สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้าทองอิน กรมพระอนุรักษ์เทเวศร์|กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข (สมเด็จวังหลัง)]] ทรงพยาบาลพระอาการอยู่ต่อมาเมื่อเสด็จกลับกรุงเทพฯ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกเสด็จพระราชดำเนินพร้อมด้วย[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย|สมเด็จเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร]] (รัชกาลที่๒) พระอิสริยศขณะนั้นเสด็จไปประทับที่พระราชวังบวรสถานมงคล เพื่อทรงพยาบาลสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาทจนกระทั่งพระอาการประชวรกำเริบและได้เสด็จสวรรคต ณ พระที่นั่งบูรพาภิมุขในหมุ่พระวิมาน เมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2346 พระชนมายุ 60 พรรษา พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานพระโกศ (พระลอง) ย่อมุมไม้สิบสองหุ้มทองคำประดิษฐานพระบรมศพไว้ที่พระที่นั่งศิวโมกขพิมานในพระราชวังบวรสถานมงคล หลังจากการถวายพระเพลิง ณ พระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง เสร็จสิ้น พระบรมอัฐิถูกอัญเชิญไปประดิษฐานไว้ที่พระที่นั่งวายุสถานอมเรศ ในหมู่พระวิมาน ปัจจุบันอัญเชิญมาประดิษฐานไว้ที่หอพระนาคในพระบรมมหาราชวัง อนึ่ง คำว่าสวรรคตนั้นนอกจากจะใช้กับพระมหากษัตริย์และพระราชินี พระราชินีนาถ พระราชชนนีแล้วยังสามารถใช้ได้กับสมเด็จพระบวรราชเจ้า กรมพระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า) และสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร สมเด็จพระฯ สยามบรมราชกุมารีได้อีกด้วย ทว่าในส่วนกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญในรัชกาลที่ 5 และสมเด็จพระราชวังบวรสถานพิมุขนั้นกำหนดให้ใช้คำว่า ทิวงคต
 
นอกจากจะทรงอุทิศพระองค์เสด็จไปในการศึกสงครามกอบกู้เอกราช และป้องกันพระราชอาณาจักรตลอดพระชนมชีพ สมเด็จพระบวรราชเจ้า กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท ยังทรงเสริมสร้างความมั่นคงให้แก่บ้านเมือง ทรงอุปถัมภ์บำรุงการพระศาสนา ศิลปวรรณกรรม และสถาปัตยกรรม เป็นต้นว่า โปรดให้สร้าง พระราชวังบวร (ซึ่งปัจจุบันคือบริเวณ[[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] [[พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนคร]] [[โรงละครแห่งชาติ]] และ[[วิทยาลัยนาฎศิลป์]]) ทรงสร้างกำแพงพระนครตั้งแต่ประตูวัดสังเวชวิศยารามจนถึงวัดบวรนิเวศ และทรงสร้างป้อมอิสินธร [[ป้อมพระอาทิตย์]] [[ป้อมพระจันทร์]] ป้อมยุคนธร (ซึ่งรื้อลงแล้ว) คงเหลือแต่[[ป้อมพระสุเมรุ]] และทรงสร้างประตูยอดของบรมมหาราชวัง คือ ประตูสวัสดิโสภา ประตูมณีนพรัตน์ ประตูอุดมสุดารักษ์ และทรงสร้างโรงเรือที่ฟากตะวันตก ทรงสถาปนา[[วัดมหาธาตุ]] [[วัดชนะสงคราม]] (วัดตองปุ) [[วัดโบสถ์]] [[วัดเทวราชกุญชร]] (วัดสมอแครง) [[วัดราชผาติการาม]] (วัดส้มเกลี้ยง) [[วัดปทุมคงคา]] (วัดสำเพ็ง) วัดครุฑ [[วัดสุวรรณคีรี]] (วัดขี้เหล็ก) [[วัดสุวรรณดาราราม]] ทรงสร้างหอมณเฑียรธรรมใน[[วัดพระศรีรัตนศาสดาราม]] วิหารคต [[วัดโพธิ์|วัดเชตุพนฯ]] เป็นต้น พระปรีชาสามารถ และพระมหากรุณาธิคุณในสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท ได้จารึกอยู่ในประวัติศาสตร์ของชาติเป็นที่แซ่ซร้องสดุดีเทิดทูนของพสกนิกร ไทยตลอดมา
 
สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท มีพระราชโอรสธิดารวม 43 องค์ พระธิดาองค์ใหญ่คือ '''"[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าหญิงพิกุลทอง กรมขุนศรีสุนทร]]"''' ซึ่งประสูติแต่ "[[พระอัครชายาเธอ เจ้าครอกฟ้าศรีอโนชา ในสมเด็จฯ กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท|พระอัครชายาเธอ เจ้าครอกฟ้าศรีอโนชา]]" พระราชขนิษฐาใน "[[พระเจ้าบรมราชาธิบดีกาวิละ|พระเจ้าบรมราชาธิบดีกาวิละ, พระเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 1]]" พระราชโอรส ทรงเป็นต้น[[ราชสกุล]]อสุนี สังขทัต ปัทมสิงห์ และนีรสิงห์
 
== พระโอรส-ธิดา ==
สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท มีพระราชโอรสธิดารวม 43 องค์ พระธิดาองค์ใหญ่คือ '''"[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์หลานเธอ เจ้าฟ้าหญิงพิกุลทอง กรมขุนศรีสุนทร]]"''' ซึ่งประสูติแต่ "[[พระอัครชายาเธอ เจ้าครอกฟ้าศรีอโนชา ในสมเด็จฯ กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท|พระอัครชายาเธอ เจ้าครอกฟ้าศรีอโนชา]]" พระราชขนิษฐาใน "[[พระเจ้าบรมราชาธิบดีกาวิละ|พระเจ้าบรมราชาธิบดีกาวิละ, พระเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 1กาวิละ]]" พระราชโอรส ทรงเป็นต้น[[ราชสกุล]]อสุนี สังขทัต ปัทมสิงห์ และนีรสิงห์
[[ไฟล์:SurasiH-Nice-WMHt49k.jpg|thumb|140px|พระบรมสาทิสลักษณ์ของสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท]]
{{บทความหลัก|รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท}}
 
=== ประสูติก่อนอุปราชาภิเษก (ในรัชกาลสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี) ===
* [[สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้าพิกุลทอง กรมขุนศรีสุนทร|เจ้าฟ้าหญิงพิกุลทอง]] (พ.ศ. 2320-2353) ประสูติในเจ้ารจจา ([[พระอัครชายาเธอ [[เจ้าครอกศรีอโนชา]]) พระขนิษฐาใน[[พระเจ้าบรมราชาธิบดีกาวิละกาวิละ]] เจ้าผู้ครองนคร[[เชียงใหม่]] ทรงได้รับสถาปนาเป็น [["กรมขุนศรีสุนทร]]" ในรัชกาลที่ 1
* พระองค์เจ้าชายลำดวน (พ.ศ. 2322-2347) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาขะ
* พระองค์เจ้าหญิงเกสร (พ.ศ. 2322) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาแก้ว สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 3
เส้น 97 ⟶ 94:
[[ไฟล์:พระองค์เจ้าดาราวดี.jpg|thumb|150px|พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดาราวดี]]
* พระองค์เจ้าหญิงดวงจันทร์ (พ.ศ. 2326) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาฉิม สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 5
* พระองค์เจ้าชายอสุนี (พ.ศ. 2326-2351) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาขำ ทรงได้รับสถาปนาเป็น [[กรมหมื่นเสนีเทพ]] เมื่อ พ.ศ. 2351 ในรัชกาลที่ 1 สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 3 ทรงเป็นต้นสกุล [[:หมวดหมู่:ราชสกุลอสุนี|อสุนี]]
* พระองค์เจ้าหญิงโกมล (พ.ศ. 2326) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาแก้วศาลาลอย สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 3
* พระองค์เจ้าหญิงบุนนาค (พ.ศ. 2328) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดามา สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 3
* [[พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดาราวดี|พระองค์เจ้าหญิงดาราวดี]] (พ.ศ. 2328-2410) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาน้อย เสกสมรสกับ [[สมเด็จพระบวรราชเจ้า กรมพระราชวังบวรมหาศักดิ์พลเสพย์]] สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 4
* พระองค์เจ้าหญิง (พ.ศ. 2328) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาสุวรรณา สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 4
* พระองค์เจ้าหญิงโกสุม (พ.ศ. 2328) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาพ่วง สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 2
เส้น 146 ⟶ 143:
| ตำแหน่ง = [[กรมพระราชวังบวรสถานมงคล]]<br> ([[ราชวงศ์จักรี]])
| จำนวนตำแหน่ง =
| ก่อนหน้า = [[สมเด็จพระมหาอุปราช เจ้าฟ้าจุ้ย กรมขุนอินทรพิทักษ์]]<br> ([[กรุงธนบุรี]])
| จำนวนก่อนหน้า =
| ถัดไป = [[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย|กรมพระราชวังบวรมหาอิศรสุนทร]]
| จำนวนถัดไป =
| ช่วงเวลา = [[พ.ศ. 2325]] - [[พ.ศ. 2346|2346]]
เส้น 156 ⟶ 153:
{{กรมพระราชวังบวรสถานมงคล}}
 
{{เรียงลำดับ|สุรสิงหนาท}}
{{ประสูติปี|2286}}{{สิ้นพระชนม์ปี|2346}}
 
[[หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2286]]
[[หมวดหมู่:กรมพระราชวังบวรสถานมงคล]]
[[หมวดหมู่:พระโอรสธิดาในสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก]]