ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถิติศาสตร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
AlphamaBot (คุย | ส่วนร่วม)
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ความหมายอื่น|สำหรับ= "สถิติ" ที่หมายถึงผลลัพธ์ที่ได้จากการใช้กระบวนการทางสถิติกับข้อมูล|ดูที่=ค่าสถิติ}}
 
'''สถิติศาสตร์''' ({{lang-en|Statistics}} มาจากคำในภาษา[[ภาษาละติน|ละตินใหม่]] ''statisticum'' (เกี่ยวกับรัฐ)) คือ[[วิทยาศาสตร์|ศาสตร์]]และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการสร้าง[[ความรู้]]จาก[[ข้อมูล]] ที่ได้เก็บรวบรวมมา (หรือเรียกว่าเป็นข้อมูล[[เชิงประจักษ์]]) ที่อยู่ในรูปของข้อมูลเชิงเลข พื้นฐานของสาขานี้คือ [[ทฤษฎีสถิติ]] ซึ่งเป็นสาขาหนึ่งของ[[คณิตศาสตร์]]เชิงประยุกต์ ในทฤษฎีสถิติ ความสุ่มและความไม่แน่นอนจะถูกจำลองโดย[[ทฤษฎีความน่าจะเป็น]] เนื่องจากเป้าหมายหนึ่งของสถิติศาสตร์คือการสร้างสารสนเทศที่ดีที่สุดจากข้อมูลที่มีอยู่ หลายคนจึงจัดให้สถิติศาสตร์เป็นสาขาหนึ่งของ[[ทฤษฎีการตัดสินใจ]] [[แนวปฏิบัติทางสถิติ]]นั้นรวมถึงการวางแผน, การสรุปย่อ, และการตีความผลการสังเกต ที่ยอมรับความเปลี่ยนแปลงและความไม่แน่นอนได้
 
===ความหมาย===
State หมายถึง ข้อมูลเพื่อรัฐ
ความหมายของสถิติ มีอยู่ 2 นิยามคือ
# ข้อเท็จริงที่เป็นตัวเลข Numberical fact หรือข้อความที่เกี่ยวกับเรื่องราวต่างๆ ที่เราสนใจหรืออยู่รอบๆ ตัวที่ได้รวบรวมไว้ทั้งที่เป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติและมนุษย์สร้างขึ้น
# ศาสตร์วิชาที่เกี่ยวข้องกับทษฏีและระเบียบวิธี ว่าด้วยการเก็บรวมรวมข้อมูลการประมวลผล การนำเสนอข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การสรุปและการตีความของข้อมูล
 
'''ความหมาย==ประเภทของสถิติ มีอยู่ 2 นิยามคือ'''<br />==
* สถิติพรรณนา (Descriptive Statistice) คือ สถิติที่ว่าด้วยระเบียบวิธี เพื่อแสดงลักษณะของกลุ่มข้อมูลที่เก็บข้อมูลเท่านั้น ไม่สามารถอ้างอิงลักษณะที่ได้ไปยังกลุ่มอื่น<br />
#ข้อเท็จริงที่เป็นตัวเลข Numberical fact หรือข้อความที่เกี่ยวกับเรื่องราวต่างๆ ที่เราสนใจหรืออยู่รอบๆตัวที่ได้รวบรวมไว้ทั้งที่เป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติและมนุษย์สร้างขึ้น
* สถิติอ้างอิง (Inferential Statistics) คือ สถิติที่ว่าด้วยระเบียบวิธี แต่ศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง แล้วนำผลที่ได้ไปสรุปอ้างอิงประชากรได้
#ศาสตร์วิชาที่เกี่ยวข้องกับทษฏีและระเบียบวิธี ว่าด้วยการเก็บรวมรวมข้อมูลการประมวลผล การนำเสนอข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การสรุปและการตีความของข้อมูล
 
'''==ระเบียบวิธีทางสถิติ Statistiel Methods'''==
* การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
* การนำเสนอข้อมูล (Data Presentation)
* การวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analysis)
* การตีความหมายข้อมูล (Data Interpretation)
 
'''ประเภท==ประโยชน์ของสถิติ'''<br />==
'''ประโชยน์ของสถิติ'''
* ประโยชน์ในระดับบุคคล
* ประโยชน์ในระดับครัวเรือน
* ประโยชน์ในระดับหน่วยงานธุรกิจเอกชน
* ประโยชน์ในระดับประเทศ
 
'''ประเภทของสถิติ'''<br />
* สถิติพรรณนา Descriptive Statistice<br />
สถิติที่ว่าด้วยระเบียบวิธี เพื่อแสดงลักษณะของกลุ่มข้อมูลที่เก็บข้อมูลเท่านั้น ไม่สามารถอ้างอิงลักษณะที่ได้ไปยังกลุ่มอื่น<br />
* สถิติอ้างอิง Inferential Statistics<br />
สถิติที่ว่าด้วยระเบียบวิธี แต่ศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง แล้วนำผลที่ได้ไปสรุปอ้างอิงประชากรได้
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
เส้น 32 ⟶ 29:
* [http://e-learning.vec.go.th/elearning/ ดาวน์โหลดชุดโปรแกรมช่วยวิเคราะห์ข้อมูลงานวิจัยทางการศึกษาหรือทางสถิติวิจัยด้วยเอ็กเซล โดยครูศักดิ์สิทธิ์ วัชรารัตน์]
{{Link FA|eu}}
 
 
[[หมวดหมู่:วิธีการวิจัย]]