ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยุทธการที่เดียนเบียนฟู"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต: ลิงก์บทความคัดสรร ar:معركة ديان بيان فو
Xiengyod (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 184:
สหรัฐอเมริกาได้มีส่วนในยุทธการอย่างลับ ๆ หลังการขอความช่วยเหลือจากอ็องรี นาวาร์ แรดฟอร์ดให้ฝูงอากาศยานทิ้งระเบิด บี-26 อินเวเดอร์ สองฝูงสนับสนุนฝรั่งเศส ในภายหลัง นักบินขนส่งอเมริกัน 37 คน บิน 682 เที่ยวบินตลอดระยะการรบ<ref name="Franco_Embassy_2005"/> ก่อนหน้านี้ เพื่อแทนที่ปฏิบัติการกัสตอร์ก่อนเดียนเบียนฟูเมื่อเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1953 พลเอก เชสเตอร์ แมคคาร์ที อนุญาตให้ลูกเรือฝรั่งเศสขับเครื่องบินซี-119 ฟลายอิง บอกซ์คาร์อีก 12 ลำ<ref name="Franco_Embassy_2005">[http://ambafrance-us.org/IMG/pdf/nff/NFF0502.pdf Embassy of France in the USA, Feb. 25, 2005], U.S. Pilots Honored For Indochina Service</ref>
 
นักบินอเมริกันสองคน เจมส์ มักกัฟเวิร์น จูเนียร์ และวอลลัซ บูฟอร์ดเสียชีวิตในหน้าที่ระหว่างการล้อมเดียนเบียนฟู<ref>[http://www.check-six.com/Crash_Sites/CAT-149_McGoon.htm Check-Six.com - The Shootdown of "Earthquake McGoon"]</ref> วันที่ 25 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2005 นักบินอเมริกันเจ็ดคนที่ยังมีชีวิตอยู่ได้รับ[[เครื่องรัฐอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์]]ฝรั่งเศส โดย ฌ็อง-ดาวีด เลอวิต เอกอัครราชทูตฝรั่งเศสประจำสหรัฐอเมริกา<ref name="Franco_Embassy_2005"/> บทบาทของนักบินอเมริกันในยุทธการนี้ยังเป็นที่ทราบกันน้อยจน ค.ศ. 2004 "นักประวัติศาสตร์อเมริกัน เอริก เคอร์ซิงเกอร์ วิจัยกรณีนี้กว่าหนึ่งปีเพื่อพิสูจน์ข้อเท็จจริง"<ref>"France honors U.S. pilots for Điện Biên Phủ role". ''Agence France Presse''. 25 February 2005.</ref><ref>Burns, Robert. "Covert U.S. aviators will get French award for heroism in epic Asian battle". ''Associated Press Worldstream''. 16 February 2005</ref> นักประพันธ์ฝรั่งเศส ฌูล รัว เสนอว่า พลเรือเอก แรดฟอร์ดอภิปรายกับฝรั่งเศสถึงความเป็นไปได้ในการใช้อาวุธนิวเคลียร์เพื่อสนับสนุนที่มั่นฝรั่งเศส<ref>Roy, p. 198</ref> ยิ่งไปกว่านั้น จอห์น ฟอสเตอร์ ดัลลิสมีรายงานว่า กล่าวถงความเป็นไปได้ในการให้ยืมระเบิดอะตอมแก่ฝรั่งเศสเพื่อใช้ที่เดียนเบียนฟู<ref>Fall, p. 306</ref> และแหล่งข้อมูลคล้ายกันอ้างว่า รัฐมนตรีต่างประเทศของอังกฤษขณะนั้น เซอร์แอนโทนี อีเดน ตระหนักถึงความเป็นไปได้ของการใช้อาวุธนิวเคลียร์ในภูมิภาคนั้น<ref>Fall, p. 307</ref>
 
=== ยุทธการที่แคซัญ ===