ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เศาะลาฮุดดีน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
migrateToWikidata
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ใช้ปีคศ}}
[[ไฟล์:SaladinRexAegypti.jpg|thumb|ภาพวาดซาแซลาดิน จากคริสต์ศตวรรษที่ 15]]
'''ศอเศาะลาฮุดดีน อัลอัยยูบีย์อัลอัยยูบี''' หรือที่ชาวตะวันตกเรียกว่า '''ซาแซลาดิน''' มีชื่อภาษาอาหรับเต็มว่า '''ศอเศาะลาฮุดดีน ยูซุฟ อิบนุอัยยูบอิบน์ อัยยูบ''' บางครั้งก็ถูกเรียกว่า '''อัลมาลิก อัลนาศิร ศอเศาะลาฮุดดีน ยูซุฟ''' เกิดเมื่อ ค.ศ.1137 ในตำบล[[ติกรีต]] (ปัจจุบันอยู่ใน[[อิรัก]]) และเสียชีวิตในวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1193 ที่เมือง[[ดามัสคัสดามัสกัส]] เป็นหนึ่งในบรรดาผู้ปกครองมุสลิมผู้มีชื่อเสียงที่สุดและเป็น[[สุลต่าน]]มุสลิมผู้ปกครอง[[อียิปต์]] [[ซีเรีย]] [[เยเมน]]และ[[ปาเลสไตน์]]และเป็นผู้ก่อตั้ง[[ราชวงศ์อัยยูบีย์]] ใน[[สงครามครูเสดครั้งที่ 3|สงครามต่อต้านการรุกรานของนักรบครูเสด]] ศอเศาะลาฮุดดีนประสบความสำเร็จในขั้นสุดท้ายด้วยการยึดเมือง[[เยรูซาเลม]]กลับคืนมาได้ในวันที่ 2 ตุลาคม ค.ศ. 1187 ซึ่งทำให้การยึดครองของพวกแฟรงค์เป็นเวลาแฟรงก์เป็นเวลา 88 ปีต้องสิ้นสุดลง
 
ศอเศาะลาฮุดดีนเกิดในครอบครัวชาว[[เคิร์ด]] ในคืนที่เขาเกิด นัจญ์มุดดีน อัยยูบ พ่อของเขาได้รวมคนในครอบครัวเดินทางไปยังเมืองอาเล็ปอะเลปโปเพื่อไปรับใช้อิมาดุดดีน ซางกี ผู้ปกครองชาวเติร์กที่มีอำนาจในซีเรียตอนเหนือ เขาเติบโตในเมืองบะอัลบักและดามัสคัสดามัสกัส แต่ในตอนเริ่มแรกนั้นศอเศาะลาฮุดดีนให้ความสนใจในเรื่องของศาสนามากกว่าการฝึกฝนทางทหาร เขาเริ่มต้นอาชีพอย่างเป็นทางการเมื่อได้เข้าไปเป็นเจ้าหน้าที่ของอะซัดดุดดีน ชิรกูห์ ลุงของเขาซึ่งเป็นผู้บัญชาการทหารคนสำคัญของเจ้าชายนูรุดดีนลูกชายและทายาทผู้สืบอำนาจต่อจากซางกี ศอเศาะลาฮุดดีนได้ประสบการณ์ในการรบระหว่างการเดินทางออกศึกสามครั้งยังอียิปต์ภายใต้การนำของชิรกูห์เพื่อป้องกันการรุกรานของพวกครูเสด
 
เขาจึงมีนโยบายส่งเสริมให้มีการเติบโตและแพร่ขยายสถาบันต่าง ๆ ของมุสลิม เขาให้การอุปการะนักวิชาการและนักเผยแผ่คำสอนอิสลาม ก่อตั้งวิทยาลัยและ[[มัสญิด]]สำหรับคนเหล่านั้นและแนะนำให้บรรดานักวิชาการเขียนงานวิชาการออกมาโดยเฉพาะเรื่องการญิฮาด ฟื้นฟูขวัญกำลังใจและสร้างความเชื่อมั่นให้เป็นส่วนหนึ่งของชีวิตผู้คน
ศอเศาะลาฮุดดีนประสบผลสำเร็จในการเปลี่ยนดุลอำนาจทางทหารให้เขาเป็นฝ่ายได้เปรียบ โดยการที่เขาสามารถรวบรวมและจัดระเบียบกองกำลังที่ไร้ระเบียบวินัยมากกว่าการที่จะใช้เทคนิคใหม่ ๆ ทางทหาร ในที่สุด เมื่อกำลังทหารของเขาพร้อมที่จะเผชิญหน้ากับกองทัพ[[ครูเสด]] ในวันที่ 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1187 ศอเศาะลาฮุดดีนก็สามารถทำลายกองทัพของพวก[[ครูเสด]]ได้ที่ฮัตตีนใกล้กับทะเลสาบไทเบเรียในปาเลสไตน์ตอนเหนือ
 
สงครามครั้งนั้นสร้างความเสียหายให้แก่พวกครูเสดอย่างหนัก จนกองทัพมุสลิมสามารถเข้ายึด[[ราชอาณาจักรเยรูซาเล็มเยรูซาเลม]]ได้เกือบทั้งหมด เมืองอัคเร, โตรอน, เบรุต, ไซดอน, [[นาซาเร็ธเรท]], ซีซาเรีย, นะบลุส, ญัฟฟาและอัสจาฟฟา และอัสคาลอนได้ตกเป็นของมุสลิมภายในสามเดือน
 
วันที่ 2 ตุลาคม ค.ศ. 1187 ศอเศาะลาฮุดดีนสร้างความเสียหายอย่างหนักให้แก่พวกครูเสด เมื่อเมืองเยรูซาเลมซึ่งเป็นเมืองสำคัญต่อทั้งมุสลิมและคริสเตียนได้ยอมจำนนต่อกองทัพของเขา หลังจากที่ตกอยู่ในมือของพวก[[แฟรงค์แฟรงก์]]มาเป็นเวลา 88 ปี ชาวเมืองเยรูซาเลมได้รับการปฏิบัติจากกองทัพของศอเศาะลาฮุดดีนอย่างดีและมีอารยธรรม ผิดกับเมื่อตอนที่พวกแฟรงค์แฟรงก์เข้ามายึดครองซึ่งทำให้ชาวเมืองต้องถูกสังหารหมู่อย่างเหี้ยมโหดทารุณนับหมื่น ๆ คน
 
หลังจากที่กรำศึกมาเป็นเวลานาน ในที่สุด ศอเศาะลาฮุดดีนก็มาถึงจุดสุดท้ายของชีวิต ในขณะที่ญาติพี่น้องของเขากำลังแย่งส่วนต่าง ๆ ของอาณาจักรกันอยู่นั้น เพื่อนของเขาก็พบว่า ผู้ปกครองที่เป็นนักรบอัจฉริยะและมีคุณธรรมในโลกมุสลิมผู้นี้ไม่ได้ทิ้งเงินทองไว้มากมายพอที่จะทำหลุมฝังศพให้สมศักดิ์ศรีได้ หลังจากนั้น ครอบครัวของศอเศาะลาฮุดดีนก็ยังปกครองอียิปต์และแผ่นดินใกล้เคียงต่อไปอีกไม่นานและในที่สุดก็ถูกพวกมัมลูกเข้ามายึดอำนาจต่อใน ค.ศ. 1250
 
{{birth|1137}}{{death|1193}}