ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะพระมหาไถ่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต: เปลี่ยนจาก หมวดหมู่:องค์กรที่ก่อตั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 18 ไปยัง หมวดหมู่:องค์การที่ก...
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Infobox organization
| name = คณะพระมหาไถ่
| image = CSSROblatas-del-santisimo-reden.jpg
| abbreviation = C.Ss.R.
| motto = Copiosa apud eum redemptio
บรรทัด 14:
'''คณะพระมหาไถ่'''<ref>ราชบัณฑิตยสถาน, ''พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 457</ref> ({{lang-en|Congregation of the Most Holy Redeemer; Redemtorists}}) เป็น[[คณะนักบวชธรรมทูต]][[โรมันคาทอลิก]]ที่[[นักบุญ]][[อัลฟอนโซ มาเรีย เด ลีกูโอรี]]ได้ก่อตั้งขึ้น ณ เมืองสกาลา [[แคว้นกัมปาเนีย]] [[ประเทศอิตาลี]] ในตอนแรกมีจุดมุ่งหมายเพื่อทำงานช่วยเหลือชาวชนบทที่ถูกทอดทิ้งรอบ ๆ เมือง[[เนเปิลส์]]
 
นักบวช (religious) ของคณะนี้มีทั้ง[[บาทหลวง]]และ[[ภราดาฆราวาส|ภราดา]] ปฏิบัติงานอยู่ใน 77 ประเทศทั่วโลก
 
== ประวัติ ==
บรรทัด 24:
 
== ในประเทศไทย ==
[[มุขนายก]][[อ็องฌ์-มารี-โฌแซ็ฟ แกว็ง]] [[ผู้แทนพระสันตะปาปา]]ประมุข[[มิสซังลาว]]ขณะนั้น ได้ขอให้[[สันตะสำนัก]]ส่งมิชชันนารีมาประกาศข่าวดีในเขต[[มิสซังสยาม]]และเขต[[มิสซังลาว]] สันตะสำนักจึงสอบถามยังคณะพระมหาไถ่ จนตัดสินใจให้คณะพระมหาไถ่แขวงเซนต์หลุยส์ สหรัฐอเมริกา มาปฏิบัติหน้าที่ แต่ด้วยปัญหา[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]ทำให้การเดินทางต้องล่าช้าออกไป
 
เมื่อปัญหาต่าง ๆ คลี่คลายมิชชันนารี 4 ท่านก็ออกเดินทางมากับเรือจาก[[รัฐแคลิฟอร์เนีย]]และถึงท่าเรือ[[เกาะสีชัง]]ในวันที่ 19 พฤษภาคม ค.ศ. 1948 เข้าพำนักที่เขตมิสซังกรุงเทพฯ ระยะหนึ่งแล้วจึงเดินทางต่อไปยังมิสซังลาวซึ่งขณะนั้นมีมุขนายก[[โกลด-ฟีลิป บาเย]]เป็นประมุข การเผยแผ่ศาสนาได้ก้าวหน้ามาจนปัจจุบัน และขยับขยายไปยัง[[เขตมิสซัง]]อื่น ๆ ด้วย งานที่สำคัญคือเมื่อพระสันตะปาปาให้ตั้ง[[มิสซังอุดรธานี]]แยกออกจาก[[มิสซังท่าแร่]] ได้ทรงให้มิสซังอุดรธานีอยู่ในความดูแลของคณะพระมหาไถ่ โดยบาทหลวง[[แคลเรนซ์ เจมส์ ดูฮาร์ต]] [[อธิการ]]คณะพระมหาไถ่ในขณะนั้นได้รับแต่งตั้งเป็น[[มุขนายก]]และ[[ผู้แทนพระสันตะปาปา]]ประมุของค์แรกของมิสซังอุดรธานี<ref name="คณะพระมหาไถ่"/>