ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การขยายตัวของสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
Songpaok (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 17:
 
=== สมาชิกผู้ก่อตั้ง ===
อาเซียนถูกก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 เมื่อรัฐมนตรีต่างประเทศของห้าประเทศ ได้แก่ [[อินโดนีเซีย]] [[มาเลเซีย]] [[ฟิลิปปินส์]] [[สิงคโปร์]]และ[[ไทย]] ประชุมกันที่อาคารกระทรวงการต่างประเทศของไทยใน[[กรุงเทพมหานคร]] และลงนาม[[ปฏิญญาอาเซียน]] ซึ่งรู้จักกันมากกว่าในชื่อ ปฏิญญากรุงเทพ รัฐมนตรีทั้งห้า
อันประกอบด้วย
[[อดัมกับอีฟ มาลิก]] แห่งอินโดนีเซีย, [[สาธารณรัฐอินโดนีเซีย]]
[[นาร์ซิโซ รามอสแห่งฟิลิปปินส์,ส]] แห่ง [[สาธารณรัฐฟิลิปปินส์]]
[[อับดุล ราซัคแห่งมาเลเซีย,ซัค]] แห่ง [[สหพันธรัฐมาเลเซีย]]
[[เอส. ราชารัตนัมแห่งสิงคโปร์นัม]] และแห่ง [[สาธารณรัฐสิงคโปร์]]
[[ถนัด คอมันตร์แห่งไทยมันตร์]] แห่ง [[ราชอาณาจักรไทย]] ซึ่งถูกพิจารณาว่าเป็นบิดาผู้ก่อตั้งองค์กร<ref>{{cite book |title=The Asia-Pacific Profile |author=Bernard Eccleston, Michael Dawson, Deborah J. McNamara |year=1998 |publisher=Routledge (UK) |url=http://books.google.com/books?visbn=0415172799&id=l07ak-yd6DAC&pg=RA1-PA311&lpg=RA1-PA311&ots=XgqmmGV3CC&dq=%22Bangkok+Declaration%22+ASEAN&ie=ISO-8859-1&output=html&sig=u2ddDhzn-yVhEn5Fwu3d8iih0OA|isbn=0-415-17279-9 }}</ref>
 
=== บรูไนและเวียดนาม ===
เส้น 48 ⟶ 54:
ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ค่อนข้างขวางกั้นการสมัครเข้าเป็นสมาชิกอาเซียนของปาปัวนิวกินี แม้จะตั้งอยู่ไม่ห่างจากกรุงจาการ์ตา อันเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่อาเซียน มากไปกว่าตอนเหนือของพม่า แต่ในทางภูมิศาสตร์ ปาปัวนิวกินีมิใช่ส่วนหนึ่งของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือทวีปเอเชีย เมื่อปาปัวนิวกินีได้รับสถานะผู้สังเกตการณ์เมื่อ พ.ศ. 2519 อาเซียนก็ได้รับรองว่าปาปัวนิวกินีมีภูมิภาคการเมืองและเศรษฐกิจเดียวกับสมาชิกอาเซียน และเชื่อมโยงกันทางภูมิศาสตร์ เพราะปาปัวนิวกินีกินพื้นที่ครึ่งหนึ่งของเกาะนิวกินีขนาดใหญ่ ซึ่งอีกครึ่งหนึ่งของเกาะเป็นที่ตั้งของจังหวัดปาปัวและปาปัวตะวันตกของอินโดนีเซีย นับแต่นั้น ปาปัวนิวกินีก็รอคอยนาน 35 ปีที่จะกลายเป็นสมาชิกเต็มตัว
 
=== [[ติมอร์ตะวันออก]] ===
เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2554 [[ติมอร์ตะวันออก]]ได้ยื่นคำร้องขอเป็นสมาชิกอาเซียน<ref>{{citeweb|url=http://www.bbc.co.uk/news/world-asia-pacific-12644608|title=East Timor applies to join Asean|publisher=[[BBC News]]|last=McGeown|first=Kate|date=2011-03-04|accessdate=2012-03-27}}</ref> ซึ่งเป็นท่าทีที่ได้รับการสนับสนุนจากอินโดนีเซีย<ref>{{citeweb|url=http://www.thejakartapost.com/news/2011/11/19/i-have-my-own-view-sby-tells-pm-lee-hsien-loong.html|title=I have my own view, SBY tells PM Lee Hsien Loong|accessdate=2012-03-27|date=2012-03-27|publisher=[[Jakarta Post]]|last=Dua|first=Nusa}}</ref>
 
ติมอร์ตะวันออกซึ่งได้รับเอกราชเมื่อ พ.ศ. 2545 ได้ปรากฏต่อสาธารณะเป็นครั้งแรกในการแข่งขัน[[ซีเกมส์]] นับแต่ พ.ศ. 2546 ได้รับเชิญเข้าร่วมการประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิกเป็นครั้งแรกใน พ.ศ. 2548 ทำให้เป็นประเทศที่ 25 ที่เข้าร่วมการประชุมดังกล่าว อุปสรรคสำคัญของติมอร์ตะวันออกคือ การรักษาสถานทูตในทุกประเทศสมาชิกอาเวียน จากสมาชิกในความร่วมมือภูมิภาคปัจจุบัน 10 ประเทศ แต่ติมอร์ตะวันออกยังมีสถานทูตในสี่ประเทศเท่านั้น<ref>[http://www.interaksyon.com/article/2969/aquino-to-back-east-timors-bid-for-asean-membership Aquino to back East Timor's bid for ASEAN membership]</ref> ประธานาธิบดีติมอร์ตะวันออก โฮเซ รามอส-ฮอร์ตา หวังว่าจะได้รับสมาชิกภาพก่อน พ.ศ. 2555<ref>[http://www.acp-eucourier.info/Timor-s-key-concern.162.0.html Timor's key concern: preparing for ASEAN membership]</ref>