ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การสังหารหมู่ที่ปีเตอร์ลู"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Oatbcc (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 6:
2.การปฏิวัติอุตสาหกรรมของอังกฤษกำลังเจริญก้าวหน้า อังกฤษผลิตสินค้าสำเร็จรูปจำนวนมากเพื่อส่งไปขายยังต่างประเทศต่างๆในยุโรป เมื่อสิ้นสงครามนโปเลียน ประเทศเจ้าจำนำต่างๆ ต่างก็ตั้งโรงงานอุตสาหกรรมของตนขึ้น และเลิกซื้อสิ้นค้าของอังกฤษเช่นเคย ทำให้สินค้าของอังกฤษขายไม่คล่องดังแต่ก่อน เจ้าของโรงงานจำเป็นต้องลดราคาลงและบางแห่งต้องปิดโรงงานอุตสาหกรรมทำให้เกิดปัญหากรรมกรว่างงาน
3.เมื่อสิ้นสงครามนโปเลียนแล้ว รัฐบาลอังกฤษก็ปลดทหารออกประจำการถึงแสนคน ทหารดังกล่าวก็ไม่มีงานทำ ปัญหากรรมกรว่างงานก็ได้ทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ราคาพวกวัตถุดิบต่างๆของอังกฤษก็ต่ำลง เช่น เหล็ก ซึ่งเคยขายได้ราคาตันละ 20 ปอนด์ก็ลดลงเหลือราคาตันละ 8 ปอนด์ ผู้ที่รับเคราะห์ก็คือกรรมกรที่ไร้งานและที่มีงาน ฝ่ายรัฐบาลก็ไม่สามารถที่จะเข้าควบคุมโรงงานอุตสาหกรรมได้ทันที เพราะว่ารัฐบาลก็ยังมีงานอื่นที่จะต้องทำอีกมากมาย ในเมื่อสงครามนโปเลียนเพิ่งจะสิ้นสุดลงใหม่ๆ การที่รัฐบาลไม่สามารถเข้าควบคุมโรงงานของเอกชนได้ทันที ก็ทำให้เจ้าของโรงงานเอกชนออกกฎต่างๆได้ตามใจชอบ เป็นต้นว่า กำหนดให้กรรมกรทำงานเป็นเวลาวันละหลายๆชั่วโมง และยังให้ค่าแรงต่ำ เพราะเจ้าของโรงงานรู้ดีว่ากรรมกรต้องทำงานตามเงื่อนไขที่ตนเองกำหนดไว้เพราะว่ากลัวว่าจะถูกไล่ออกและกลายเป็นกรรมกรว่างงาน แต่ว่าสาเหตุข้องหนึ่งที่ทำให้เจ้าของโรงงานไม่สามารถจะเพิ่มค่าแรงของกรรกรได้ คือว่าจะทำสินค้ามีราคาแพงขึ้นและจำยิ่งทำให้ขายยากกว่าเดิม ด้วยเหตุนี้เองกรรมกรในประเทศอังกฤษในสมัยนั้นจึงมีสภาพความเป็นอยู่ที่ตกต่ำและมีความลำบากมาก
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{จัดรูปแบบ}}
=== สังคมนิยมแบบยูโทเปียในอังกฤษ ===
ในขณะนั้นการปฏิวัติของอังกฤษกำลังแผ่ขยายไปในภาคกลาง ภาคเหนือ และทางภาคใต้ของสกอตแลนด์ แต่ก็ยังมีคนที่เห็นใจพวกกรรมกร เช่น โรเบิร์ต โอเวน(Robert Owen. ค.ศ. 1771-1858) นักสังคมนิยมแบบยูโทเปีย (Utopian Socialist) เขาเคยเป็นกรรมกรมาก่อน แต่ต่อมาก็ได้ตั้งตัวได้และได้เป็นเจ้าของโรงงานทอผ้าที่เมือง New Lanark ในสกอตแลนด์ โอเวนมีความเชื่อว่า ถ้าหากว่าพวกกรรมกรมีความเป็นอยู่ดีขึ้น ก็คงจะตั้งใจทำงานและคงจะสามารถผลิตสินค้าให้มีปริมาณเพิ่มขึ้น โอเวนได้เสนอลดเวลาทำงานของกรรมกรให้น้อยลง เพื่อเปิดโอกาสให้พวกกรรมกรได้มีเวลาพักผ่อนมากขึ้น นอกจากนี้เขายังจัดตั้งโรงเรียนขึ้นสำหรับพวกบุตรหลานของพวกกรรมกรโดยเฉพาะ เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กเหล่านี้ได้เรียนหนังสือและมีสุขภาพดี แทนที่จะได้เข้าไปทำงานตั้งแต่อายุน้อยๆ และยังเปิดโอกาสให้พวกกรรมกรได้เล่นกีฬาและจัดงาน ให้มีการเล่นกีฬาอยู่เสมอ สิ่งเหล่านี้ทำให้พวกกรรมกรชอบโอเวนมาก เพราะเขาได้ทำให้กรรมกรมีความเป็นอยู่ดีกว่ากรรมกรในแห่งอื่นๆ การที่โอเวนเอาใจใส่บำรุงฐานะของกรรมกรเป็นคนแรก เขาจึงได้ยกย่องว่าเป็นผู้ให้กำเนิดลัทธิสังคมนิยม (Socialist) ขึ้นในประเทศอังกฤษ
เส้น 16 ⟶ 18:
5.เพิ่มภาษีสนามบิน
6.อนุญาติให้เจ้าหน้าที่ทำการตรวจค้นบ้านเรือนของประชาชนในบางมณฑลได้
 
ซึ่งราษฏรก็พากันประณามพระราชบัญญัติ 6 ฉบับนี้ โดยให้ชื่อว่า “Liberticide Acts” ซึ่งเป็นกฎหมายที่บั่นทอนเสรีภาพของประชาชน และภายหลักจากที่รัฐบาลอังกฤษออกกฎหมายนี้ได้สองเดือนก็ได้มีการวางแผนลอบสังหารคณะรัฐมนตรีทั้งชุด เหตุการณ์นี้เรียกว่า “Cato Street Conspiracy ”
ซึ่งราษฏรก็พากันประณามพระราชบัญญัติ 6 ฉบับนี้ โดยให้ชื่อว่า “Liberticide Acts” ซึ่งเป็นกฎหมายที่บั่นทอนเสรีภาพของประชาชน และภายหลักจากที่รัฐบาลอังกฤษออกกฎหมายนี้ได้สองเดือนก็ได้มีการวางแผนลอบสังหารคณะรัฐมนตรีทั้งชุด เหตุการณ์นี้เรียกว่า “Cato Street Conspiracy ” นับเป็นโชคดีของชาวอังกฤษที่รัฐบาลพรรคทอรี (Conservative) ซึ่งบริหารราชการสืบต่อมานี้ประกอบด้วยรัฐมนตรีหลายคนซึ่งมีจิตใจเอนเอียงไปในทางเสรีนิยม มีความมุ่งหมายที่จะแก้ไขฐานะความเป็นอยู่ของราษฎรให้ดีขึ้น ในระหว่างปี ค.ศ. 1823-1830 ปรากฏว่ารัฐมนตรีที่มีชื่อเสียงเช่น จอร์จ แคนนิ่ง (สมัย ค.ศ. 1822-1827) เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศได้ขึ้นบริหารราชการ นอกจากนี้ จอร์จ แคนนิ่ง ยังได้เพื่อนร่วมคณะที่มีจิตใจกว้างขวางในทางการเมือง เช่น โรเบิร์ต พีล (Robert Peel. ค.ศ. 1788-1850) ซึ่งต่อไปจะเป็นนายารัฐมนตรีในช่วงปี ค.ศ. 1834-1835 พีลได้ขึ้นดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ได้แก้ไขปรับปรุงกฎหมายอาญาให้รุนแรงน้อยกว่าแต่ก่อน
==== คำกล่าวถึงเหตุการณ์ Peterloo Massacre ของ Mark Thomas, comedian ====
“The word "democracy" has been tarnished by the politicians who benefit from its Parliamentary form. But do not forget that people fought and died for democracy, for the right of universal suffrage. The Peterloo Massacre was one such event but the calls for freedom, justice and democracy were meet with murder and suppression.
The shameful object that seeks to serve as a commemorative plaque to this event hides the struggle of working people, it hides the urgency of their demands and the brutality of the state. To fail to refer to the massacre, to fail to refer to the deaths and instead skip over these events is an act of historical vandalism akin to Stalin airbrushing dissidents out of photographs."
To fail to refer to the massacre, to fail to refer to the deaths and instead skip over these events is an act of historical vandalism akin to Stalin airbrushing dissidents out of photographs."
Mark Thomas, comedian