ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อัลฆามิอา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Aljamiado.png|thumb|right|300px|อัลคามีอา เขียนโดย[[มันเซโบ เด อาเรบาโล]] ประมาณพุทธศตวรรษคริสต์ศตวรรษที่ 2116 (คริสต์ศตวรรษพุทธศตวรรษที่ 1621)<ref>The passage is an invitation directed to the Spanish [[Moriscos]] or [[Crypto-Muslims]] so that they continue fulfilling the [[Islam]]ic prescriptions in spite of the legal prohibitions and so that they disguise and they are protected showing public adhesion the [[Christian faith]].</ref>]]
[[ไฟล์:Poema de Yusuf.jpg|thumb|เอกสารตัวเขียนของ ''Poema de Yuçuf'' ซึ่งเป็นบทกวีภาษาอารากอนที่เขียนด้วยอักษรอาหรับ]]
 
'''อัลคามีอา''' ({{lang-es|aljamía}}) หรือ '''อะญะมียะฮ์''' ({{lang-ar|عَجَمِيَة}}, {{lang|ar|''ʿajamiyah''}}) เป็นเอกสารตัวเขียนที่ใช้[[อักษรอาหรับ]]ในการเขียนภาษากลุ่มโรมานซ์ เช่น [[ภาษาโมซาราบิก]] [[ภาษาโปรตุเกส]] [[ภาษาสเปน]] [[ภาษาอารากอน]] หรือ[[ภาษาลาดิโน]]
[[ไฟล์:Aljamiado.png|thumb|right|300px|อัลคามีอา เขียนโดย[[มันเซโบ เด อาเรบาโล]] ประมาณพุทธศตวรรษที่ 21 (คริสต์ศตวรรษที่ 16)<ref>The passage is an invitation directed to the Spanish [[Moriscos]] or [[Crypto-Muslims]] so that they continue fulfilling the [[Islam]]ic prescriptions in spite of the legal prohibitions and so that they disguise and they are protected showing public adhesion the [[Christian faith]].</ref>]]
[[ไฟล์:Poema de Yusuf.jpg|thumb|''Poema de Yuçuf'']]
 
คำว่าอัลคามีอาเพี้ยนมาจากคำใน[[ภาษาอาหรับ]]ว่า {{lang|ar|[[Ajam|''ʿajamiyah'']]}} ซึ่งในที่นี้หมายถึงภาษาต่างชาติ และโดยทั่วไปใช้ในความหมายถึงเรียกกลุ่มชนที่ไม่มีบรรพบุรุษเป็นชาวอาหรับ<ref>Chejne, A.G. (1993): ''Historia de España musulmana''. Editorial Cátedra. Madrid, Spain. Published originally as: Chejne, A.G. (1974): ''Muslim Spain: Its History and Culture''. University of Minnesota Press. Minneapolis, USA</ref> ส่วนในทางภาษาศาสตร์ ''Aljamía'' ใช้ในกรณีที่อัลคามีอาคือการนำอักษรอาหรับไปเขียนภาษาใน[[กลุ่มภาษาโรมานซ์]] ซึ่งเป็นภาษาที่ใช้ในชีวิตประจำวันในบางพื้นที่ของ[[อัล-อันดะลุส]] ส่วนภาษาอาหรับเป็นภาษาที่ใช้ในทางวิทยาศาสตร์ วัฒนธรรมชั้นสูง และศาสนา
'''อัลคามีอา''' ({{lang-es|aljamía}}) หรือ '''อะญะมียะฮ์''' ({{lang-ar|عَجَمِيَة}}, {{lang|ar|''ʿajamiyah''}}) เป็นเอกสารตัวเขียนที่ใช้[[อักษรอาหรับ]]ในการเขียนภาษากลุ่มโรมานซ์ เช่น [[ภาษาโมซาราบิก]] [[ภาษาโปรตุเกส]] [[ภาษาสเปน]] หรือ[[ภาษาลาดิโน]]
 
ระบบการเขียนกลุ่มภาษาโรมานซ์ด้วยอักษรอาหรับพัฒนาขึ้นในราวพุทธศตวรรษคริสต์ศตวรรษที่ 2015 (คริสต์ศตวรรษพุทธศตวรรษที่ 1520) และพบมากในศตวรรษต่อมา<ref>L.P. Harvey. "The Moriscos and the Hajj" ''Bulletin of the British Society for Middle Eastern Studies'', '''14'''.1 (1987:11-24) p. 15.</ref> ต่อมา ชาวโมริสโกได้เลิกใช้ภาษาอาหรับเป็นภาษาทางศาสนา และใช้ภาษาสเปนแทน<ref>Gerard Albert Wiegers, ''Islamic Literature in Spanish and Aljamiado'' 1994, p. 226.</ref>
คำว่าอัลคามีอามาจากคำใน[[ภาษาอาหรับ]] [[Ajam|''ʿajamiyah'']] หมายถึงภาษาต่างชาติ และใช้ในความหมายถึงกลุ่มชนที่ไม่มีบรรพบุรุษเป็นชาวอาหรับ<ref>Chejne, A.G. (1993): ''Historia de España musulmana''. Editorial Cátedra. Madrid, Spain. Published originally as: Chejne, A.G. (1974): ''Muslim Spain: Its History and Culture''. University of Minnesota Press. Minneapolis, USA</ref> ในทางภาษาศาสตร์ ''Aljamía'' ใช้ในกรณีที่นำอักษรอาหรับไปเขียนภาษาใน[[กลุ่มภาษาโรมานซ์]] ซึ่งเป็นภาษาที่ใช้ในชีวิตประจำวันใน[[อัล-อันดะลุส]] ส่วนภาษาอาหรับเป็นภาษาที่ใช้ในทางวิทยาศาสตร์ วัฒนธรรมชั้นสูงและศาสนา
 
ระบบการเขียนกลุ่มภาษาโรมานซ์ด้วยอักษรอาหรับพัฒนาขึ้นในราวพุทธศตวรรษที่ 20 (คริสต์ศตวรรษที่ 15) และพบมากในศตวรรษต่อมา<ref>L.P. Harvey. "The Moriscos and the Hajj" ''Bulletin of the British Society for Middle Eastern Studies'', '''14'''.1 (1987:11-24) p. 15.</ref> ต่อมา ชาวโมริสโกได้เลิกใช้ภาษาอาหรับเป็นภาษาทางศาสนา และใช้ภาษาสเปนแทน<ref>Gerard Albert Wiegers, ''Islamic Literature in Spanish and Aljamiado'' 1994, p. 226.</ref>
 
==การใช้ในสเปน==
เส้น 14 ⟶ 13:
อัลคามีอามีบทบาทสำคัญในการรักษา[[ศาสนาอิสลาม]]และภาษาอาหรับในชีวิตของชาวโมริสโก หลังจากที่จักรวรรดิมุสลิมใน[[คาบสมุทรไอบีเรีย]]ล่มสลาย ชาวโมริสโกถูกบังคับให้เปลี่ยนศาสนาเป็นชาวคริสต์ มิฉะนั้นจะถูกขับออกจากคาบสมุทร แต่ชาวโมริสโกบางส่วนก็ยังใช้อัลคามีอาอยู่
 
ใน [[ค.ศ. 1567]] (พ.ศ. 2110) [[พระเจ้าฟิลิปที่ 2 แห่งสเปน]] ได้ออกพระราชกฤษฎีกาบังคับให้ชาวโมริสโกเลิกใช้ภาษาอาหรับในทุกกรณี ไม่ว่าจะพูดหรือเขียน ทางการหรือไม่ทางการ การใช้ภาษาอาหรับกลายเป็นอาชญากรรม ชาวโมริสโกได้แปลบทสวดและวจนะของ[[นบีมุฮัมมัด]]ภาษาอาหรับออกมาเป็นภาษาสเปนในรูปของอัลคามีอา ม้วนเอกสารอัลคามีอาถูกส่งต่อเวียนกันไปในหมู่ชาวโมริสโก ปัจจุบันบางส่วนได้รับการเก็บรักษาในหอสมุดแห่งชาติของสเปน
 
==การใช้แบบอื่น==
บางครั้งมีการใช้คำว่า "อัลคามีอา" เรียกการถอดเสียงภาษาอื่น (นอกเหนือจากภาษากลุ่มโรมานซ์) ซึ่งไม่ใช่[[กลุ่มภาษาเซมิติก]]เป็นอักษรอาหรับ เช่น การเขียน[[ภาษาบอสเนีย]]และ[[ภาษาแอลเบเนีย]]ที่เขียนด้วยอักษรอาหรับระหว่างสมัย[[จักรวรรดิออตโตมัน]] เคยถูกเรียกว่าอัลคามีอาเช่นกัน แต่ก็มีการใช้คำ ''[[อักษรอเรบิกา|อเรบิกา]]'' ซึ่งหมายถึงการใช้อักษรอาหรับเขียนภาษาใน[[กลุ่มภาษาสลาฟ]]
 
==อ้างอิง==