ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระยาไชยสงคราม (ทิพย์ช้าง)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
|ภาพ = ไฟล์:King Thip Chak.jpg
|พระบรมนามาธิไธย = หนานทิพย์ช้าง
|พระปรมาภิไธย = พระเจ้าทิพย์จักรสุละวะฤๅพระยาไชยสงคราม
|ราชสมภพ = [[พ.ศ. 2217]]<br>ตำบลปงยางคก [[อำเภอห้างฉัตร]] [[จังหวัดลำปาง]]
|วันพิราลัย= [[พ.ศ. 2302]] (58 พรรษา)<br>เมืองลำปาง
|พระอิสริยยศ = พระเจ้าพระยานครลำปาง
|พระบิดา = แสน
|พระมารดา= คำเอื้อง
|พระมเหสี = แม่เจ้าพิมพามหาเทวี
|พระโอรส/ธิดา = 10 พระองค์
|ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์จักร]]
|ทรงราชย์ = [[พ.ศ. 2275]] - [[พ.ศ. 2302]]
|พิธีบรมราชาภิเษก =
บรรทัด 20:
|}}
 
'''พระเจ้าทิพย์จักรสุลวะฤๅพระยาไชยสงคราม''' ({{lang-nod|<ref>[[ไฟล์:LN-Kingสรัสวดี Thipchang.png|180pxอ๋องสกุล]]}}. (2554). '''ประวัติศาสตร์ล้านนา'''. สำนักพิมพ์อมรินทร์.</ref> หรือ'''พระยาสุลวะลือไชยสงคราม''' หรือ '''พ่อเจ้าทิพย์ช้าง''' ([[ไฟล์:LN-King Thipchang2.png|80px]]) หรือ พ่อเจ้าหนานทิพย์ช้าง (บ้านปงยางคก) เป็น[[รายพระนามเจ้าผู้ครองนครลำปาง|เจ้าผู้ครองนครลำปาง]]ในสมัยเป็นเอกราชไม่ขึ้นกับกษัตริย์พม่า กษัตริย์ไทย (กรุงศรีอยุธยา) หรือเจ้าเมือง[[นครเชียงใหม่]] นับว่าเป็นต้นและต้น "[[ราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์จักร]]" ต้นสกุลวงศ์ของ "เจ้าเจ็ดตน" สมรสกับแม่เจ้าปิมปามหาเทวี (บ้านป่าหนาดดำ ต.บ้านเอื้อม) ครองปกครองนครลำปางในช่วง พ.ศ. 2275-2302 (จ.ศ.1120)
 
== พระประวัติ ==
ในช่วงปลายของกรุงศรีอยุธยา นครเชียงใหม่และอาณาจักรล้านนาเป็นเมืองขึ้นของพม่า ส่วนลำปางเป็นนครรัฐอิสระ กระทั่วท้าวหนานมหายศ เจ้าเมืองลำพูนยกทัพมาตีชนะเมืองลำปาง และตั้งศูนย์บัญชาการที่วัดพระธาตุลำปางหลวง เหล่าบรรดาประชาชนจึงได้ขอให้หนานทิพย์ช้าง ซึ่งมีความนายพรานผู้เก่งกล้า มีความและเชี่ยวชาญในอาวุธปืนยาวและหน้าไม้ เป็นผู้นำในการกอบกู้นครลำปาง โดยสามารถรบชนะ และสังหารท้าวมหายศ ได้ที่วัดพระธาตุลำปางหลวง ชาวเมืองจึงร่วมกันสถาปนาหนานทิพย์ช้าง ขึ้นครองนครลำปาง ในปี พ.ศ. 2275<ref>วรเทวี (ณ ลำพูน) ชลวณิช. '''เจ้าหลวงลำพูน''' กรุงเทพฯ : อัมรันทร์พริ้นติ้ง. 2552</ref> มีพระนามว่า'''พระญาสุลวะลือไชย'''
 
ต่อมาพระองค์ได้ส่งเครื่องราชบรรณาการไปถวายพระเจ้ากรุงอังวะ และได้รับการเฉลิมพระนามจากพระเจ้ากรุงอังวะเป็น'''พระยาไชยสงคราม''' ในปี พ.ศ. 2278<ref>คณะกรรมการจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์, '''ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่''', พระนคร : โรงพิมพ์สำนักนายกรัฐมนตรี, 2514, หน้า 88</ref> บางตำราจึงมักออกพระนามรวมกันเป็น'''พระยาสุลวะลือไชยสงคราม''' พระองค์ปกครองนครลำปางได้ 27 ปี จึงถึงแก่พิราลัยในปี พ.ศ. 2302
== ราชโอรส ราชธิดา ==
 
== พระราชบุตร ==
[[ไฟล์:Thipchang.jpg|thumb|left|อนุสาวรีย์พ่อเจ้าทิพย์ช้าง]]
พระเจ้าทิพย์จักรสุละวะฤๅไชยสงคราม ทรงมีพระราชโอรส 4 พระองค์ และพระราชธิดา 104 พระองค์ ดังนี้ที่สำคัญเช่น
* [[เจ้าฟ้าสิงหราชธานี เจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว]] เจ้าฟ้าเมืองลำปาง ในฐานะประเทศราชของพม่า (2302 - 2317) เป็นพระราชบิดาใน[[พระเจ้ากาวิละ]]
* [[เจ้าฟ้าหลวงชายอ้าย]]
* [[เจ้าฟ้าหลวงชายปอเฮือน (นายพ่อเรือน)]], พระราชบิดาใน "[[เจ้าหลวงพุทธวงศ์]] เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ พระองค์ที่ 4"
* [[เจ้าฟ้าชายแก้ว สิงหราชธานี]], พระเจ้าผู้ครองนครเขลางค์(ลำปาง) ประเทศราชของพม่า (2302 - 2317), เป็นพระราชบิดา ใน "[[พระเจ้าบรมราชาธิบดีกาวิละ]]" ด้วยพระราชโอรสทั้ง 7 พระองค์ ทรงมีบทบาทสำคัญในการกอบกู้ราชอาณาจักรล้านนาจากพม่า และต่อมาเจ้านายบุตรหลานได้ปกครองหัวเมืองฝ่ายเหนือ จึงเป็นที่มาของราชสมัญญาว่า "เจ้าเจ็ดตน" หรือ "เจ้าเจ็ดองค์"
* [[เจ้าฟ้านางหลวงคำทิพ]]
* [[เจ้าฟ้าหลวงชายคำปา]]
* [[เจ้าฟ้าหลวงชายปอเฮือน (พ่อเรือน)]], พระราชบิดาใน "[[เจ้าหลวงพุทธวงศ์]] เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ พระองค์ที่ 4"
* [[เจ้าฟ้านางหลวงกม]]
 
== อนุสาวรีย์ ==
อนุสาวรีย์พระเจ้าทิพย์จักรสุละวะฤๅไชยสงคราม หรือ อนุสาวรีย์เจ้าพระยาพระยาสุลวลือไชยสงคราม ตั้งอยู่ที่ริมถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ลำปาง-งาว ตำบลพระบาท [[อำเภอเมืองลำปาง]] [[จังหวัดลำปาง]] โดยความดูแลของ[[เทศบาลนครลำปาง]] ก่อสร้างขึ้นเพื่อเทิดพระเกียรติคุณของเจ้าหนานทิพย์ช้าง หรือพระเจ้าทิพย์จักรสุละวะฤๅไชยสงคราม ในปี พ.ศ. 2527 โดย[[สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (วาสน์ วาสโน)]] เสด็จทรงประกอบพิธีเททองเมื่อวันที่ [[9 เมษายน]] [[พ.ศ. 2527]] และ[[สมเด็จพระนางเจ้าฯพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ]] เสด็จพระราชดำเนินทรงประกอบพิธีเปิดอนุสาวรีย์ในเวลาต่อมา<ref>[http://www.m-culture.in.th/moc_new/album/131305/%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B8%9E%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B4%E0%B8%9E%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87/ อนุสาวรีย์พ่อเจ้าทิพย์ช้าง] จาก ศูนย์ข้อมูลกลางทางวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม</ref>
 
== อ้างอิง ==
เส้น 43 ⟶ 41:
{{เริ่มกล่อง}}
{{สืบตำแหน่ง
| ก่อนหน้า = [[พระนางวิสุทธิเทวี]]<br/>[[ราชวงศ์มังราย]]พระยานคร
| ตำแหน่ง = [[เจ้าผู้ครองนครลำปาง]]
| ราชวงศ์ = ราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์จักร
| ปี = [[พ.ศ. 2275]] - [[พ.ศ. 2302]]
| ถัดไป = [[เจ้าฟ้าสิงหราชธานี ชายแก้ว (เจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว)|สมเด็จเจ้าฟ้าชายแก้ว]]
}}
{{จบกล่อง}}
เส้น 53 ⟶ 51:
{{เจ้านครลำปาง}}
 
{{เรียงลำดับ|ทิพย์จักรชยสงคราม}}
{{เกิดปี|}}
{{ตายปี|2302}}
[[หมวดหมู่:เจ้านายฝ่ายเหนือเจ้าผู้ครองนครลำปาง|เจ้าผู้ครองนครลำปาง]]
[[หมวดหมู่:เจ้าผู้ครองนครลำปาง| 1]]
[[หมวดหมู่:ราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์ (เจ้าเจ็ดตน)| ]]
 
{{โครงประวัติศาสตร์}}