ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แคปพาโดเชีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 37:
| Link = http://whc.unesco.org/en/list/357
}}
'''แคปพาโดเชีย''' ({{lang-el|Καππαδοκία}} ''แคปพากัปปาโดเชียเกีย''<ref>[http://www.searchgodsword.org/lex/grk/view.cgi?number=2587 การออกเสียงคำว่า Καππαδοκία]</ref>; {{lang-en|Cappadocia}} {{IPAc-en|icon|k|æ|p|ə|ˈ|d|oʊ|ʃ|ə}} ''แคเพอะโดเชอะ'') แผลงมาจากคำใน[[ภาษากรีก]] “Καππαδοκία” (Kappadokía) คือภูมิภาคตอนกลางของ[[ประเทศตุรกี]]ที่ส่วนใหญ่อยู่ใน[[Nevşehir Province|จังหวัดเนฟชีร์]]
 
“แคปพาโดเชีย” เป็นชื่อที่ปรากฏตลอดมาในประวัติศาสตร์ของ[[คริสต์ศาสนา]]และเป็นชื่อที่ใช้โดยทั่วไปที่หมายถึงบริเวณที่เป็นที่น่าสนใจแก่นักท่องเที่ยว ในบริบทของภูมิภาคอันมีความน่าตื่นตาตื่นใจทางธรรมชาติ โดยเฉพาะภูมิสัณฐานที่มีลักษณะเป็นแท่งๆ คล้ายหอปล่องไฟ หรือ เห็ด ([[Hoodoo|ปล่องไฟธรรมชาติ]] (fairy chimney)) และประวัติความเป็นมาทางประวัติศาสตร์อันเป็นเอกลักษณ์ของภูมิภาค[[อานาโตเลีย]]
บรรทัด 48:
[[เฮโรโดทัส]]กล่าวว่าชื่อของกลุ่มชาติพันธุ์แคปพาโดเชียเป็นชื่อที่ชาวเปอร์เซียใช้เรียกชนกลุ่มดังกล่าวนี้ ขณะที่[[กรีกโบราณ|ชาวกรีก]]เรียกว่า “ชาวซีเรีย” หรือ “ชาวซีเรียขาว” (Leucosyri) ชนเผ่าหนึ่งในกลุ่มชาติพันธุ์แคปพาโดเชียที่[[เฮโรโดทัส]]กล่าวถึงคือ[[Moschoi|โมสชอย]] ที่นักประวัติศาสตร์[[โจซีฟัส]]กล่าวว่ามีความเกี่ยวข้องกับบุคคลในพระคัมภีร์ไบเบิลชื่อ[[Meshech|เมเช็ค]]บุตรของ[[Japheth|ยาเฟ็ธ]]: “และโมโซเคนีก่อตั้งขึ้นโดยโมซอค; ที่ปัจจุบันคือกลุ่มชาติพันธุ์แคปพาโดเชีย”<ref>[[Antiquities of the Jews]] I:6</ref><ref>[[Ketubah]] 13:11 in the [[Mishna]]</ref>
 
แคปพาโดเชียปรากฏในพระคัมภีร์ไบเบิลใน “[[กิจการของอัครทูต]]” 2:9 กลุ่มชาติพันธุ์แคปพาโดเชียกล่าวว่าเป็นกลุ่มชนหนึ่งที่ได้รับฟังรับ[[พระวรสารการประกาศข่าวดี]]จาก[[อัครทูต]]เป็นภาษาของตนเองใน[[เทศกาลเพนเทคอสต์]]ไม่นานหลังจาก[[การคืนพระชนม์ของพระเยซู]]<ref>[http://www.holyzone.net/news/02/?%BE%C3%D0%A4%D1%C1%C0%D5%C3%EC%BE%D1%B9%B8%CA%D1%AD%AD%D2%E3%CB%C1%E8:%A1%D4%A8%A1%D2%C3_%2F_Acts:%A1%D4%A8%A1%D2%C3_2 Holy Zone for Christ: Acts 2:5]</ref> ซึ่งเป็นนัยยะว่าชาวแคปพาโดเชียเป็น “ชาวยิวที่มีความเกรงกลัวในพระเจ้า”
 
ภายใต้การปกครองของจักรพรรดิเปอร์เซียองค์ต่อๆ มาแคปพาโดเชียแบ่งออกเป็นสองแคว้น (Satrap) ที่มีศูนย์กลางหนึ่งที่ยังคงใช้ชื่อแคปพาโดเชียโดยนักประวัติศาสตร์กรีก แต่อีกแคว้นหนึ่งเรียกว่า “[[พอนทัส]]” การแบ่งแยกนี้เกิดขึ้นก่อนสมัยของ[[เซเนโฟน]] หลังจากการล่มสลายของจักรวรรดิเปอร์เซียแคว้นสองแคว้นก็ยังคงแยกตัวเป็นอิสระจากกัน และ ยังคงดำรงความแตกต่างจากกันต่อมา แคปพาโดเชียมาหมายถึงจังหวัดลึกเข้าไปในแผ่นดิน ( inland province ที่บางครั้งก็เรียกว่า “แคปพาโดเชียใหญ่”) เท่านั้น และเป็นภูมิภาคที่เน้นถึงในบทความนี้
บรรทัด 79:
เมื่อโรมถอดกษัตริย์พอนทัสและกษัตริย์อาร์เมเนียจากราชบัลลังก์ [[อาริโอบาร์ซานีสที่ 1 ฟิลโลโรมาอิออสแห่งแคปพาโดเชีย]]จึงได้กลับมาขึ้นครองแคปพาโดเชียอีกครั้งหนึ่งในปี 63 ก่อนคริสต์ศักราช ในระหว่างสงครามกลางเมืองที่เกิดขึ้นในโรมแคปพาโดเชียก็เปลี่ยนการสนับสนุนเรื่อยมาตั้งแต่สนับสนุน[[ปอมเพย์]], ต่อมาก็[[จูเลียส ซีซาร์]], ต่อมา[[มาร์ค แอนโทนี]] และหันมาเป็นปฏิปักษ์ท้ายที่สุด ราชวงศ์อริโอบาร์ซานีสมาสิ้นสุดลงในสมัยของ[[อาร์คีลอสแห่งแคปพาโดเชีย]]ผู้หนุนหลัง[[มาร์ค แอนโทนี]] และหันมาเป็นปฏิปักษ์ ผู้ปกครองเป็นอิสระมาจนกระทั่งปี 17 ก่อนคริสต์ศักราช เมื่อ[[จักรพรรดิไทบีเรียส]]ทรงลดฐานะของแคปพาโดเชียลงมาเป็นเพียง[[มณฑลของโรมัน]]หลังจากการสิ้นพระชนม์ของอาร์คีลอสอย่างอัปยศ ต่อมาอีกเป็นเวลานานแคปพาโดเชียก็กลายเป็นส่วนหนึ่งของ[[จักรวรรดิไบแซนไทน์]]
 
แคปพาโดเชียประกอบด้วย[[เมืองใต้ดิน]]หลายเมือง (ดู[[เมืองใต้ดินแห่งเคย์มาคลี]]) ที่ใช้โดยชาวคริสเตียนในยุคแรกในการเป็นที่หลบหนีภัยจาก[[การเบียดเบียนคริสต์ศาสนิกชน]]ก่อนที่[[คริสต์ศาสนาคริสต์]]จะเป็นศาสนาที่ได้รับการประกาศว่าเป็นศาสนาของประจำจักรวรรดิ [[ปิตาจารย์แห่งแคปพาโดเชีย]]ของคริสต์ศตวรรษที่ 4 เป็นองค์ประกอบสำคัญของประวัติศาสตร์ของ[[เทววิทยาคริสเตียน]]ในศาสนาคริสต์ยุคแรก นัก[[เทววิทยาคริสเตียนศาสนาคริสต์]]คนสำคัญก็รวมทั้ง[[จอห์นแห่งแคปพาโดเชีย]]ผู้เป็นอัครบิดรแห่ง[[คอนสแตนติโนเปิล]] ระหว่างปี ค.ศ. 517 ถึง ค.ศ. 520 ในช่วงการปกครองของ[[จักรวรรดิไบแซนไทน์]] แคปพาโดเชียปลอดจากความขัดแย้งของบริเวณนี้กับ[[จักรวรรดิซาสซานิยะห์แซสซานิด]] แต่มาเป็นบริเวณดินแดนพรมแดนอันสำคัญต่อมาในสมัย[[การพิชิตดินแดนของมุสลิม]]ต่อมา แคปพาโดเชียกลายเป็นส่วนหนึ่งของ[[เขตการปกครองไบแซนไทน์แห่งอาร์เมเนีย]] (Armeniac Theme) และต่อมาเขตการปกครอง[[คาร์เซียนอน]] และในที่สุด [[เขตการปกครองไบแซนไทน์แห่งแคปพาโดเชีย]] (Cappadocia Theme)
 
ความสัมพันธ์ระหว่างแคปพาโดเชียและ[[อาร์เมเนีย]]ที่ตั้งอยู่ติดกันเป็นความสัมพันธ์อันเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา นักประวัติศาสตร์อาหรับอบู อัล ฟารัจกล่าวถึงชาวอาร์เมเนียผู้ตั้งถิ่นฐานอยู่ที่ซิวาสระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 10 ว่า “ซิวาสในแคปพาโดเชียเต็มไปด้วยชาวอาร์เมเนีย ที่มีจำนวนมากจนกระทั่งกลายเป็นส่วนสำคัญของกองทัพของราชอาณาจักร กองทหารอาร์เมเนียเหล่านี้มีหน้าที่เฝ้ายามตามป้อมที่สำคัญๆ ที่ยึดมาได้จากอาหรับ ทหารอาร์เมเนียมีชื่อเสียงจากการเป็นทหารราบผู้มีประสบการณ์และมักจะแสดงความสามารถในการต่อสู้อย่างกล้าหาญและประสบกับความสำเร็จเคียงข้างทหารโรมันหรือที่เรียกว่าทหารไบแซนไทน์”<ref>Schlumberger, Un Emperor byzantin au X siècle, Paris, Nicéphore Phocas, Paris, 1890, p. 251</ref> การรณรงค์ทางการทหารของไบแซนไทน์และการรุกรานของ[[ราชวงศ์เซลจุค|เซลจุค]]ในอาร์เมเนียทำให้ชาวอาร์เมเนียขยายตัวเข้ามาในแคปพาโดเชียและออกไปทางตะวันออกจาก[[Cilicia|ซิลิเคีย]]ไปยังดินแดนที่เป็นหุบเขาทางตอนเหนือของ[[ซีเรีย]] และ [[เมโสโปเตเมีย]] จนกระทั่งได้ก่อตั้งราชอาณาจักรอาร์เมเนียแห่งซิลิเคียขึ้น การอพยพของชาวอาร์เมเนียเพิ่มจำนวนขึ้นหลังจากการเสื่อมโทรมอำนาจของจักรวรรดิไบแซนไทน์ และการขยายตัวของ[[อาณาจักรครูเสด]]หลัง[[สงครามครูเสดครั้งที่ 4]] สำหรับ[[นักรบครูเสด]]แล้วแคปพาโดเชียคือ “terra Hermeniorum” (ดินแดนของชาวอาร์เมเนีย) เพราะเป็นดินแดนที่ขณะนั้นเต็มไปด้วยผู้ตั้งถิ่นฐานชาวอาร์เมเนีย<ref name="The Crusades and the Christian World of the East: Rough Tolerance">{{cite book | last = MacEvitt | first = Christopher | title = The Crusades and the Christian World of the East: Rough Tolerance | publisher = University of Pennsylvania Press |date= 2008 | location = Philadelphia | page = 56}}</ref>
 
หลังจาก[[ยุทธการมันที่ซิเคิร์ต]]ในปี [[ค.ศ. 1071]] แล้วกลุ่ม[[ชาวตุรกี|ตุรกี]]ต่างๆ ภายใต้การนำของ[[ราชวงศ์เซลจุค|เซลจุค]]ก็เริ่มเข้ามาตั้งถิ่นฐานใน[[อานาโตเลีย]] การค่อยขยายตัวทางอำนาจของเซลจุคอย่างค่อยเป็นค่อยไปในที่สุดก็ทำให้แคปพาโดเชียกลายเป็นรัฐบริวารของรัฐตุรกีที่ก่อตั้งขึ้นทางตะวันออกและตะวันตกของภูมิภาค และประชากรบางส่วนของบริเวณนี้ก็เปลี่ยนไปถือ[[ศาสนาอิสลาม]] เมื่อมาถึงตอนปลายของต้นคริสต์ศตวรรษที่ 12 [[เซลจุคแห่งอานาโตเลีย]]ก็กลายเป็นผู้มีอำนาจเด็ดขาดในภูมิภาคแคปพาโดเชีย ต่อมาเมื่ออำนาจของ[[ราชวงศ์เซลจุค|เซลจุค]]ที่ตั้งอยู่ที่[[Konya|คอนยา]]อ่อนตัวลงในครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 13 [[Anatolian Turkish Beyliks|เบยิคตุรกีแห่งอานาโตเลียน]] (Anatolian Turkish Beyliks) ที่มีฐานอำนาจอยู่ที่[[Karaman|คารามาน]]ก็เข้ามามีอำนาจแทนที่ และในที่สุดกลุ่มที่ว่านี้ก็มาแทนที่ด้วย[[จักรวรรดิออตโตมัน]]ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 15 แคปพาโดเชียก็กลายเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออตโตมันเป็นเวลาอีกหลายร้อยปีต่อมา และในปัจจุบันก็เป็นส่วนหนึ่งของรัฐ[[ประวัติศาสตร์ตุรกี|ตุรกี]]ปัจจุบัน ความเปลี่ยนแปลงพื้นฐานของภูมิภาคนี้เกิดขึ้นเมื่อ บริเวณเมือง [[Nevşehir]] ได้รับการก่อตั้งขึ้นใหม่ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 โดย[[มหาเสนาบดี (ออตโตมัน)|มหาเสนาบดี]]ผู้มีถิ่นฐานดั้งเดิมมาจากบริเวณนี้ก่อตั้งขึ้นเป็นเมืองหลวงของภูมิภาค และยังคงเป็นมาจนกระทั่งทุกวันนี้
 
ในขณะเดียวกันชาวแคปพาโดเชียก็เริ่มเปลี่ยนไปพูดภาษาตุรกีที่เขียนด้วยอักษรกรีกที่เรียกว่า “Karamanlıca” และในบริเวณที่ยังคงพูดภาษากรีก อิทธิพลของภาษาตุรกีรอบข้างก็เริ่มจะเพิ่มขึ้น ภาษากรีกที่พูดกันในภูมิภาคแคปพาโดเชียเรียกกันว่า “[[ภาษากรีกแบบแคปพาโดเชีย]]” หลังจาก[[การแลกเปลี่ยนประชากรระหว่างกรีซและตุรกี]]ในปี ค.ศ. 1923 แล้วก็เหลือผู้พูดภาษากรีกแคปพาโดเชียอยู่เพียงไม่กี่คน
บรรทัด 92:
ฐานของธรณีสัณฐานของแคปพาโดเชียเป็นการทับถมของหินที่มาจากทะเลสาบและลำธาร และ จากการทับถมของวัตถุต่างๆ ที่ระเบิดจากภูเขาไฟ (Ignimbrite) โบราณเมื่อราว 9 ถึง 3 ล้านปีที่ผ่านมาในระหว่าง[[สมัยไมโอซีน]]จนถึง[[สมัยไพลโอซีน]]
 
หินในภูมิภาคแคปพาโดเชียไม่ไกลจาก[[เกอเรเม]]ถูกกัดกร่อนจากธรรมชาติรายเป็นรูปทรงคล้ายแท่งหรือหอที่มีปลายแหลมบนยอดคล้ายเห็ดอันดูแปลกตา วัตถุที่ระเบิดจากภูเขาไฟเป็นหินที่มีคุณสมบัติที่ง่ายต่อการกัดกร่อนหรือสลักเสลา ที่ทำให้ผู้ที่อาศัยอยู่ในบริเวณแคปพาโดเชียใช้ในการขุดคว้านเป็นบ้านเรือนที่อยู่อาศัย, ศาสนสถาน หรือ สำนักสงฆ์อารามได้ ซึ่งทำให้[[เกอเรเม]]กลายมาเป็นศูนย์กลางของ[[ระบบสำนักสงฆ์ของชีวิตอารามวาสีแบบศาสนาคริสต์ศาสนา|สำนักสงฆ์อาราม]]ราวระหว่างปี ค.ศ. 300—ค.ศ. 1200
 
การตั้งถิ่นฐานในยุคแรกใน[[เกอเรเม]]เริ่มขึ้นในสมัยโรมัน บริเวณนี้ที่ว่านี้เต็มไปด้วยบ้านเรือน, หมู่บ้าน, หมู่บ้านใต้ดิน และ คริสต์ศาสนสถานที่ขุดเข้าไปในโพรงหิน [[โบสถ์ในเกอเรเม]]มีด้วยกันกว่า 30 วัดโบสถ์และชาเปลโบสถ์นอ้ย บางวัดโบสถ์ก็มีงาน[[จิตรกรรมฝาผนัง]]จากคริสต์ศตวรรษที่ 9 ถึง 11 ที่ยังมีความงดงามสดใสอยู่
 
== ระเบียงภาพ ==
บรรทัด 105:
ไฟล์:ZelveWohnungen.jpg|<center>บ้านเรือนที่ขุดเข้าไปในผาหิน</center>
ไฟล์:GüzelyurtKircheInnen.jpg|<center>โพรงที่ขุดภายในผาหิน</center>
ไฟล์:Michael capp.jpg|<center>[[จิตรกรรมฝาผนัง]]<br />ในวัดโบสถ์ในถ้ำ</center>
ไฟล์:Magi capp.jpg|<center>[[จิตรกรรมฝาผนัง]]<br />“[[การนมัสการของโหราจารย์]]”</center>
ไฟล์:Apostles capp.JPG|<center>[[จิตรกรรมฝาผนัง]]<br />“[[อัครทูต]]”</center>