ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สำเนียง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
แบ่งหน้า
Portalian (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''สำเนียง''' คือวิธี[[การออกเสียง]]ของ[[ภาษา]]ที่คนแต่กลุ่มออกเสียงแตกต่างกันไปตามภูมิภาคที่อยู่ หรือ สถานภาพทางสังคม หรือ เชื้อชาติ หรือ ภาษาแม่ที่ใช้ เช่น คำว่า "เขา" จะถูกออกเสียงว่า "เขา" ตามสำเนียงภาคกลาง ซึ่งคำนี้จะถูกออกเสียงว่า "เค้า" ตามสำเนียงกรุงเทพ
ตัวอย่างเช่น คำว่า "เขา" จะถูกออกเสียงว่า "เขา" ตามสำเนียงภาคกลาง ซึ่งคำนี้จะถูกออกเสียงว่า "เค้า" ตามสำเนียงกรุงเทพ
การเลือกใช้คำศัพท์บางครั้งก็อาจนับรวมเป็นส่วนหนึ่งของสำเนียงได้เช่น การเลือกใช้คำว่า "พวก" ตามสำเนียงภาคกลาง ในความหมายของคำว่า "เพื่อน"
 
== สำเนียงที่มาจากภาษาอื่น ==
คำว่า "เน" มาจาก มาจากสำเนียง[[ญี่ปุ่น]] ที่ใช้ลงท้ายประโยคต่างๆ
 
เน มีที่มาตั้งแต่ช่วงยุคสมัยที่ ญี่ปุ่นเข้ามาติดต่อกับไทย ใน[[สงครามโลก]] ครั้งที่ 2
 
มาจาก "เนะ" ซึ่งเป็นเสียงสระสั้น ๆ ที่ใช้ลงท้ายประโยคบอกเล่าหรือประโยคคำถาม
 
ภายหลังพูดกันจนติดปากหรือสำเนียงเพี้ยนเป็น "เน" ซึ่งมาจากคำว่า "เนะ" ของ[[ภาษาญี่ปุ่น]]นั้นเอง
 
คำว่า "เนะ" ใช้ในความหมายใกล้เคียงกัน[[ภาษาไทย]]ในคำว่า "นะ"
 
ในปัจจุบัน "เน" ซึ่งเป็นสำนวนที่เพี้ยนมาไม่ได้มีการนำมาใช้ในการพูดหรือเขียนสื่อความหมาย
 
ตามหลัก[[ภาษา]]
 
หากแต่ภายหลังนำมาตั้งเป็นชื่อ หรือ สรรพนามใช้เรียกบุคคลในปัจจุบัน
 
== อ้างอิง ==
ที่มาโดย [[พจนานุกรมอรัญยทวีป]] โดย [[กรมหลวงพระยานุพลดำรงสากยศักดิ์]]
 
[[หมวดหมู่:ภาษา]]
เส้น 28 ⟶ 7:
{{โครงภาษา}}
 
[[en: Accent (linguistics)]]