ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลาฉลามวาฬ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 55:
กิน[[แพลงก์ตอน]]เป็นอาหาร โดยใช้[[วิธีกรองกิน]] แต่ลักษณะการกินอาหารไม่ใช่ปัจจัยที่นักวิทยาศาสตร์ใช้แบ่งปลาฉลามวาฬออกจากปลาฉลามชนิดอื่น ๆ เนื่องจากยังมีปลาฉลามอีก 2 ชนิดที่กินแพลงก์ตอนเป็นอาหารแต่อยู่คนละ[[อันดับ (ชีววิทยา)|อันดับ]]กับปลาฉลามวาฬ
 
ปลาฉลามวาฬปกติเป็นปลาที่อาศัยอยู่ในน้ำลึก และจะขึ้นมากินแพลงก์ตอนในเวลากลางคืนบริเวณผิวน้ำ โดยใช้การดูดน้ำเข้าปากแล้วผ่านช่องกรอง โดยจะทิ่งตัวเป็นแนวดิ่งกับพื้นน้ำ ที่[[ออสลอบ]] ใน[[จังหวัดเซบู]] ของฟิลิปปินส์ ชาวพื้นเมืองที่นั่นซึ่งดั้งเดิมมีอาชีพประมงจับปลาทั่วไป ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2010 เป็นต้นมา ได้เปลี่ยนวิถีชีวิตด้วยการโปรยอาหารเลี้ยงปลาฉลามวาฬ เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวจนกลายเป็นไฮไลต์ของการท่องเที่ยวดำน้ำของที่นี่ โดยอาหารที่ป้อนนั้น คือ [[เคย]] และจะมีช่วงเวลาที่ป้อนตั้งแต่ 05.00 หรือ 06.00 น.-13.00 น. ในแต่ละวัน จากนั้นปลาฉลามวาฬก็จะว่ายออกไปทะเลลึกเพื่้อเพื่อหากินเอง ซึ่งเชื่อว่าวิธีการแบบนี้จะไม่ทำให้พฤติกรรมของปลาฉลามวาฬเปลี่ยนไป<ref>''ฉลามวาฬ'', "มหัศจรรย์พันธุ์ลึก" สารคดีทางไทยพีบีเอส: ศุกร์ที่ 29 มีนาคม 2556</ref>
 
== อ้างอิง ==