ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thunyawit (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Newtonian.jpg|thumb|250px|ส่วนประกอบและทางเดินแสงของกล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสง<ref>http://www.garyseronik.com/?q=node/8 สือค้นวันที่ 28/3/2556</ref>]]
[[Fileไฟล์:NewtonsTelescopeReplica.jpg|thumb|แบบจำลองจาก[[กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง]]ตัวที่สองของนิวตัน ซึ่งเขานำเสนอต่อ[[ราชสมาคมแห่งลอนดอน]]ในปี 1672<ref>{{cite book|url=http://books.google.com/?id=KAWwzHlDVksC&dq=history+of+the+telescope&printsec=frontcover |title='&#39;The History of the Telescope'&#39; By Henry C. King, Page 74 |publisher=Google Books |accessdate=16 January 2010|isbn=978-0-486-43265-6|author1=King, Henry C|year=2003}}</ref>]]
[[Fileไฟล์:กระจกโค้งและกระจกรูปพาราโบลา.jpeg|thumb|รูปa กระจกโค้งแบบพาราโบลาจุดโฟกัสรวมกันที่จุดเดียว รูปb กระจกโค้งทรงกลมจุดโฟกัสไม่รวมกันที่จุดเดียว<ref>Lifang Li, Andres Kecskemethy, A. F. M. Arif and Steven Dubowsky. '''Optimized Bands: A New Design Concept for Concentrating Solar Parabolic Mirrors'''. http://solarenergyengineering.asmedigitalcollection.asme.org</ref>]]
'''กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง''' ({{lang-en|reflecting telescope}}) เป็น[[กล้องโทรทรรศน์]]ชนิดหนึ่งที่ใช้กระจกโค้งหนึ่งชิ้นหรือมากกว่านั้นเพื่อสะท้อนแสงสำหรับสร้างขึ้นเป็นภาพ คิดค้นขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 17 เพื่อแก้ปัญหาของ[[กล้องโทรทรรศน์หักเหแสง]]ที่มีปัญหาเรื่อง[[ความคลาดสี]] (chromatic aberration) อย่างมาก แม้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงจะทำให้เกิดปัญหา[[ความคลาดแสง]] (optical aberration) แต่ก็ช่วยให้สามารถจับภาพวัตถุขนาดใหญ่มากๆ ได้ กล้องโทรทรรศน์ส่วนใหญ่ที่ใช้ในงานด้าน[[ดาราศาสตร์]]มักเป็นแบบสะท้อนแสงแทบทั้งหมด และมีการออกแบบปลีกย่อยอีกมากมายหลายแบบเพื่อปรับปรุงคุณภาพของภาพที่ได้ไม่นาน ความต้องการกล้องขนาดใหญ่เพื่อใช้
==ประวัติการคิดค้นกล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง==
หลังจาก[[กาลิเลโอ]]เริ่มสำรวจจักรวาลด้วย[[กล้องโทรทรรศน์หักเหแสง]]ได้ไม่นาน ความต้องการกล้องโทรทรรศน์ขนาดใหญ่เพื่อใช้รวมแสงจากวัตถุที่มีแสงริบหรีก็เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ผนวกกับข้อจำกัดต่างๆ ในการสร้างกล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสงขนาดใหญ่ จึ่งมีผู้พยายามคิดค้นวิธีสร้างกล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสง (Reflecting Telescope) ในปี[[ค.ค. 1663]] [[เจส์ เกรกอรี]] (James Gregoy)[[นักคณิตศาสตร์]][[ชาวสกอต]] ได้ออกแบบกล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสงขึ้นเป็นครั้งแรก แต่ในเวลานั้นเกรกอรีไม่สามารถหาช่างขัดกระจกที่มีความสามารถพอจะขัดกระจกโค้งตามแบบได้ จึงยังไม่มีการประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสงขึ้นอย่างจริงจัง จนกระทั้งกระทั่ง [[เซอร์ ไอแซก นิวตัน]] (Sir Lsaac Newton) ออกแบบและประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสงของเข้าขึ้นในปีค.ศ. [[1668]] และเสนอต่อ[[ราชบัณฑิตยสภา]]ของ[[อังกฤษ]]ใน[[เดือนมกราคม]]ปี[[ค.ศ. 1672]]
 
==หลักการทั้วไปของกล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสง==
บรรทัด 16:
ข้อเสียเปรียบของกล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสง คือ การมีประจกทุติยภูมิอยู่ภายในตัวกล้องละขวางทางเดินแสงบางส่วน ทำให้ภาพมืดลงเล็กน้อย ในกรณีที่กระจกทุติยภูมิมีขนาดใหญ่ (มีพื้นที่มากกว่าร้อยละ 20 ของหน้ากล้อง) ภาพที่สังเกตได้จะมืดลงอย่างเห็นได้ชัด หรือมีภาพกระจกทุติยภูมิเป็นจุดมัวให้เห็น นอกจากนี้การสะท้อนแสงในกล้องแต่ละครั้งทำให้สูญเสียความเข้มแสงไปพอสมควร เพราะกระจกทั้วไปมักจะสะท้อนแสงได้เพียงร้อยละ 85-90 ของแสงที่ตกกระทบเท่านั้น หรือสูญเสียแสงไปถึงร้อยละ 10-15 ทุกครั้งที่มีการสะท้อน หากมีการสะท้อนหลายครั้งก็จะยิ่งทำให้ภาพมืดลง
 
ปัญหาที่สำคัญของกล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสง คือ ความคลาดเคลื่อนของการวางตัวของระบบกระจก (Optical Alignment) เนื่องจากกระบบกระจกของกล้องสะท้อนแสงต้องอยู่ในแนวเดียวกันอย่างเที่ยงตรงมาก หากคลาดเคลื่อนไปเพียงเล็กน้อยก็จะได้่ได้ภาพมัวลงอย่างชัดเจน ในการเคลื่อนย้ายกล้อง กระจกมักจะเคลื่อนไปเล็กน้อยเสมอ จึงต้องปรับเล็กใหม่บ่อยครั้ง การปรับเล็งกระจกให้วางต้วเรียงกันอย่างแม่นยำนี้เป็นกระบวนการที่ใช้เวลาพอสมควรสำหรับผู้เริ่มต้น แต่เมื่อทำจนชำนาญแล้วก็จะสามารถปรับได้อย่างรวดเร็ว
 
นอกจากกล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบนิวตัน (Newtonian) ซึ่งผู้สังเกตมองจากด้านข้างกล้องแล้ว ยังมีกล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสงอื่นๆ เช่น แคสสิเกรน (Cassegrain) ริตเช-เครเตียง (Ritchey-Chertien) กูเด (Coude) แนสมิธ (Nasmyth)