ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สิทธิสตรี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
NT newthana (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่ได้คัดลอกจากที่ไหนมา เป็นบทความที่แปลจากภาษาอังกฤษให้เป็นภาษาไทย เพื่อให้ความรู้
บรรทัด 22:
ในทางตรงกันข้าม ผู้หญิงแห่งเมืองสปาร์ตามีความสุขกับสถานะ อำนาจ และการไม่เป็นที่รู้จักในโลกคลาสสิก แม้ว่าผู้หญิงแห่งเมืองสปาร์ตาไม่ได้รับเลือกให้เข้ารับราชการทหารและถูกคัดออกจากการมีชีวิตที่เกี่ยวข้องกับการเมือง แต่ผู้หญิงเหล่านี้ก็มีความสุขในฐานะที่เป็นมารดาของนักรบชาวเมืองสปาร์ตา ขณะที่ผู้ชายมีส่วนร่วมในราชการทหาร ผู้หญิงจะทำหน้าที่รับผิดชอบในการดำเนินการเรื่องทรัพย์สินที่ดิน ในช่วงศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสต์ศักราชผู้หญิงชาวเมืองนี้จะติดตามสวัสดิการยืดเยื้อ เป็นเจ้าของที่ดินเมืองสปาร์ตาและทรัพย์สินทั้งหมด คิดเป็นประมาณ 35% ถึง 40%<ref name="Pomeroy"/><ref>{{Cite book| last = Tierney| first = Helen| title = Women’s studies encyclopaedia, Volume 2| publisher = Greenwood Publishing Group| year = 1999| pages = 609–610| url = http://books.google.com/?id=2bDxJW3x4f8C&dq=spartan+women| isbn = 978-0-313-31072-0}}</ref> ภายในสมัยเฮเลนนิสติค (Hellenistic period) ชาวเมืองสปาร์ตาที่มีความมั่งคั่งที่สุดจำนวนหนึ่งเป็นผู้หญิง<ref>Pomeroy, Sarah B. ''Spartan Women.'' Oxford University Press, 2002. p. 137 [http://books.google.com/books?id=c3k2AN1GulYC&printsec=frontcover&dq=Pomeroy+Sarah&hl=en&ei=6bFNTc6xPJHAsAOpqeSaCg&sa=X&oi=book_result&ct=result&resnum=2&ved=0CCwQ6AEwAQ#v=onepage&q=ethnicity&f=false]</ref> ผู้หญิงควบคุมทรัพย์สินของตนทั้งหมดรวมไปถึงทรัพย์สินของญาติซึ่งเป็นเพศชายซึ่งออกไปกองทัพ<ref name="Pomeroy">Pomeroy, Sarah B. ''Goddess, Whores, Wives, and Slaves: Women in Classical Antiquity''. New York: Schocken Books, 1975. p. 60-62</ref> การที่ผู้หญิงชาวเมืองสปาร์ตาแต่งงานก่อนอายุ 20 ปีนั้นหาได้ยาก ผู้หญิงชาวเมืองสปาร์ตาแตกต่างจากผู้หญิงชาวเมืองเอเธนส์ ผู้หญิงชาวเมืองเอเธนส์สวมใส่เสื้อผ้าที่หนักและปกปิดร่างกายและไม่ค่อยพบผู้หญิงเหล่านี้นอกบ้าน ส่วนผู้หญิงชาวเมืองสปาร์ตาสวมชุดกระโปรงสั้นและไปในสถานที่ที่ตนอยากไป<ref>Pomeroy, Sarah B. ''Spartan Women.'' Oxford University Press, 2002. p. 134 [http://books.google.com/books?id=c3k2AN1GulYC&printsec=frontcover&dq=Pomeroy+Sarah&hl=en&ei=6bFNTc6xPJHAsAOpqeSaCg&sa=X&oi=book_result&ct=result&resnum=2&ved=0CCwQ6AEwAQ#v=onepage&q=ethnicity&f=false]</ref> เด็กผู้หญิงได้รับการศึกษาเช่นเดียวกับเด็กผู้ชายและหญิงสาวมีส่วนร่วมใน Gymnopaedia ("เทศกาลเปลือยกายของหนุ่ม Nude Youths") เช่นเดียวกับชายหนุ่มที่มีส่วนร่วม<ref name="Pomeroy"/><ref>{{Harvnb|Pomeroy|2002|p=34}}</ref>
 
เพลโต (Plato) ทราบว่าการให้สิทธิการเมืองและพลเมืองแก่ผู้หญิงจะเปลี่ยนแปลงลักษณะของทั่วไปของครอบครัวและรัฐไปอย่างมาก[18]<ref>{{Cite book| last = Robinson| first = Eric W.| title = Ancient Greek democracy: readings and sources| publisher = Wiley-Blackwell| year = 2004| page = 300| url = http://books.google.com/?id=Jug6crxEImIC&dq=Aristophanes+ecclesiazusae+women%27s+rights| isbn = 978-0-631-23394-7 }}</ref> อริสโตเติลซึ่งได้รับคำสอนจากเพลโต อริสโตเติลได้ปฏิเสธเรื่องที่ว่าผู้หญิงคือทาสหรือขึ้นอยู่กับทรัพย์สิน อริสโตเติลแย้งว่า “ธรรมชาติได้แยกความแตกต่างระหว่างผู้หญิงและทาส” แต่อริสโตเติลคิดว่าภรรยาเป็นอย่าง “สิ่งที่ซื้อมา” อริสโตเติลแย้งว่ากิจกรรมทางเศรษฐกิจหลักของผู้หญิง คือ การทำหน้าที่ดูแลทรัพย์สินภายในบ้านที่ผู้ชายได้หามา จากการติดตามแนวคิดของอริสโตเติล แรงงานผู้หญิงไม่มีค่าเนื่องจาก “ศิลปะในการจัดการบ้านเรือน” ไม่มีความคล้ายคลึงกับศิลปะในการสร้างความร่ำรวยมั่งคั่ง เนื่องจากว่าเป็นบุคคลที่ใช้สิ่งซึ่งอีกฝ่ายสร้างขึ้น”[19]<ref>{{Cite book| last = Gerhard| first = Ute| title = Debating women’s equality: toward a feminist theory of law from a European perspective| publisher = Rutgers University Press| year = 2001| pages = 32–35| url = http://books.google.com/?id=XMohyLfGDDsC&dq=women+right+to+property| isbn = 978-0-8135-2905-9}}</ref>
 
นักปรัชญาลัทธิสโตอิกมีแนวคิดที่ตรงกันข้ามกับแนวคิดดังกล่าว ได้แย้งเรื่องความเท่าเทียมทางเพศ ความไม่เท่าเทียมทางเพศ เป็นแนวคิดที่ขัดแย้งกับกฎธรรมชาติ[20]<ref name="Colish">{{cite book |title=The Stoic Tradition from Antiquity to the Early Middle Ages: Stoicism in classical Latin literature |last=Colish |first=Marcia L. |year=1990 |publisher=BRILL |isbn=90-04-09327-3, 9789004093270 |pages=37–38 |page=459 |url=http://books.google.com/?id=WY-2MeZqoK0C&pg=PA36&dq=stoics%2Bslavery#v=onepage&q=stoics%2Bslavery&f=false}}</ref> ในข้อโต้แย้งดังกล่าวนั้นนักปรัชญาเหล่านี้ได้ติดตามแนวคิดของลัทธิซีนิกส์ (Cynics) ซึ่งแย้งว่าผู้ชายและผู้หญิงควรจะสวมเสื้อผ้าที่เหมือนกันและได้รับการศึกษาแบบเดียวกัน[20]<ref name="Colish"/> และนักปรัชญาเหล่านี้ก็มองว่าการแต่งงานเป็นอย่างการเป็นเพื่อนทางศีลธรรม (moral companionship) ระหว่าง 2 ฝ่ายที่เท่าเทียมกันนอกจากความจำเป็นทางสังคมหรือทางชีวภาพ นักปรัชญาก็นำแนวคิดเหล่านี้ไปใช้ในชีวิตตนและไปใช้ในการสอน[20]<ref name="Colish"/> ลัทธิสโตอิกนำแนวคิดของลัทธิซีนิกส์มาใช้และนำไปเพิ่มในทฤษฎีเรื่องธรรมชาติของมนุษย์ ดังนั้นนักปรัชญาจึงเพิ่มเรื่องความเสมอภาคทางเพศรวมอยู่ในพื้นฐานทางปรัชญาเป็นพื้นฐานที่หนักแน่น<ref [20]name="Colish"/>
 
=== กรุงโรมสมัยโบราณ ===