ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาพเหมือนของนายแพทย์กาแช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dcoetzee (คุย | ส่วนร่วม)
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ภาพวาด| image_file= Vincent van Gogh - Dr Paul Gachet - Google Art Project.jpg
| title=ภาพเหมือนของนายแพทย์กาเชต์แช (2)
| etitle=<small>Portrait of Dr. Gachet</small>
| artist=[[ฟินเซนต์ ฟาน ก็อกฮ์]]
บรรทัด 7:
| height=?
| width=?
| museum= [[พิพิธภัณฑ์ออร์เซย์ออร์แซ]], [[ปารีส]]}}
{{ภาพวาด| image_file= Portrait of Dr. Gachet.jpg
| title=ภาพเหมือนของนายแพทย์กาเชต์แช (1)
| etitle=<small>Portrait of Dr. Gachet</small>
| artist=[[ฟินเซนต์ ฟาน ก็อกฮ์]]
บรรทัด 17:
| width=56
| museum= [[งานสะสมส่วนบุคคล]]}}
'''ภาพเหมือนของนายแพทย์กาเชต์แช''' ({{lang-en|Portrait of Dr. Gachet}}) เป็น[[ภาพเขียนสีน้ำมัน]]ที่เขียนโดย[[ฟินเซนต์ ฟาน ก็อกฮ์]]<ref>Beaujean, Dieter. Vincent van Gogh: Life and Work. Könemann, 1999. ISBN 3-8290-2938-1.</ref>จิตรกรคนสำคัญ[[ชาวเนเธอร์แลนด์]]ของ[[ศิลปะอิมเพรสชันนิสม์สมัยหลัง|สมัยอิมเพรสชันนิสม์สมัยหลัง]] “ภาพเหมือนของนายแพทย์กาเชต์”แช” ขายในราคา 82.5 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (75 ล้าน บวกค่าหนายหน้าสิบเปอร์เซ็นต์)<ref>[http://www.usnews.com/usnews/doubleissue/mysteries/portrait.htm Van Gogh's vanishing act: A high-cost, low-profile canvas], U.S. News Online</ref>ในปี ค.ศ. 1990
 
“ภาพเหมือนของนายแพทย์กาเชต์”แช” ที่เขียนในปีสุดท้ายของชีวิตของฟาน ก็อกฮ์ในปี [[ค.ศ. 1890]] ภาพนี้ที่แท้จริงมีด้วยกันสองภาพทั้งสองภาพต่างก็เป็นภาพด็อดเตอร์กาเชต์ด็อดเตอร์กาแชนั่งเกยหน้ากับแขนขวา ที่มีลักษณะต่างกันพอที่จะแยกได้
 
==ที่มา==
ฟาน ก็อกฮ์เขียน “ภาพเหมือนของนายแพทย์กาเชต์”แช” ที่ [[Auvers-sur-Oise|โอแวร์ส-เซอร์-อวส]]ใกล้[[ปารีส]]เป็นภาพของด็อดเตอร์[[พอล กาเชต์แช]]กับต้น[[ถุงมือจิ้งจอก]]บนโต๊ะ กาเชต์แชดูแลระหว่างเดือนสุดท้ายของชีวิตของฟาน ก็อกฮ์ และมีงานอดิเรกเป็นจิตรกรที่กลายมาเป็นเพื่อนที่ดีของฟาน ก็อกฮ์ ต้น[[ถุงมือจิ้งจอก]]เป็นพืชที่ใช้สกัดมาใช้ในการรักษาโรคหัวใจบางประเภท ต้น[[ถุงมือจิ้งจอก]]จึงเป็นเครื่องหมายที่ใช้แสดงว่ากาเชต์แชเป็นนายแพทย์
 
==อาการหดหู่==
บรรทัด 29:
 
ฟาน ก็อกฮ์เขียนจดหมายถึงทีโอในปี ค.ศ. 1890 เกี่ยวกับภาพเขียนว่า:
{{quote|ฉันเขียนภาพเหมือนของ เอ็ม. กาเชต์แชเสร็จเรียบร้อยที่มีใบหน้าที่หดหู่ แต่อาจจะดูเหมือนแกจะมีหน้าตาบูดบึ้งสำหรับผู้ที่ได้เห็น...เศร้าแต่อ่อนโยน และยังแสดงให้เห็นว่าเป็นคนที่มีสติปัญญา ภาพเขียนอย่างนี้ควรจะเป็นวิธีภาพเหมือนควรจะเขียนกัน...}}
 
==ประวัติการเป็นเจ้าของ==
* ภาพดั้งเดิมขายโดยน้องสะไภ้ของฟาน ก็อกฮ์เป็นจำนวน 300 ฟรังก์ในปี ค.ศ. 1897 ต่อมาก็ถูกขายให้แก่ [[Paul Cassirer|พอล คาส์ซิเยร์]] (ค.ศ. 1904), เคสเลอร์ (ค.ศ. 1904) และดรูเอต์ (ค.ศ. 1910) ในปี ค.ศ. 1911 หอศิลป์แห่งรัฐที่[[ฟรังเฟิร์ต]]ก็ซื้อต่อจากดรูเอต์ และตั้งแสดงอยู่ที่นั่นจนกระทั่งปี ค.ศ. 1933 เมื่อถูกนำไปซ่อน ในปี ค.ศ. 1937 ภาพเขียนก็ถูกยึดโดยกระทรวงเพื่อส่งเสริมการประเทืองปัญญาของสาธารณชนและการโฆษณาชวนเชื่อ (Ministry of Public Enlightenment and Propaganda) ซึ่งเป็นสาขางานหนึ่งของ[[นาซี]]ที่พยายามกำจัดภาพเขียนก่อนสงครามที่ถือว่าเป็น [[degenerate art|ศิลปะที่แสดงความเสื่อมโทรมทางวัฒนธรรม]] (degenerate art) ภาพเขียนตกไปเป็นของ[[แฮร์มันน์ เกอริง]]ผู้รีบขายให้แก่นักซื้องานศิลปะใน[[อัมสเตอร์ดัม]] นักซื้อหันไปขายให้กับนักสะสมศิลปะซิกฟรีด ครามาร์สกีผู้นำติดตัวเมื่อหนีไปนิวยอร์ก ที่ครามาร์สกีมักจะให้งานศิลปะยืมโดย[[พิพิธภัณฑ์ศิลปะเมโทรโพลิทัน]] ในปี ค.ศ. 1990 ตระกูลครามาร์สกีก็ประมูลขาย ภาพเขียนมาได้รับความมีชื่อเสียงเมื่อวันที่ [[15 พฤษภาคม]] [[ค.ศ. 1990]] เมื่อนักธุรกิจชาวญี่ปุ่น Saitō Ryōei ซื้อภาพในราคา 82.5 ล้านดอลลาร์สหรัฐในการประมูลที่ห้องประมูลภาพ[[คริสตีส์]]ใน[[นครนิวยอร์ก]]ที่ทำให้กลายเป็น[[รายชื่อภาพเขียนที่มีราคาสูงที่สุด|ภาพเขียนที่มีราคาสูงที่สุด]]ในโลกในขณะนั้น Saitō ผู้เป็นประธานกิตติมศักดิ์ของบริษัทผลิตกระดาษไดโชวะผู้มีอายุ 75 ปีสร้างความโกรธเคืองระดับโลกเมื่อกล่าวว่าจะเผาภาพเขียนพร้อมกับการร่างของตนเองเมื่อเสียชีวิต แต่ต่อมา Saitō ก็พยายามไกล่เกลี่ยว่าความหมายที่ตั้งใจคือต้องการที่จะอนุรักษ์ภาพเขียนตลอดไป ผู้ช่วยของ Saitō ให้คำอธิบายต่อไปว่าคำพูดดังกล่าวเป็นเพียงการพูดเพื่อแสดงความรู้สึกถึงความผูกพันอันลึกซึ้งของ Saitō ต่อภาพเขียน ต่อมา Saitō ก็กล่าวว่าจะอุทิศภาพเขียนให้กับรัฐบาลหรือพิพิธภัณฑ์ หลังจาก Saitō เสียชีวิตในปี ค.ศ. 1996 ที่ตั้งของภาพเขียนและเจ้าของก็กลายเป็นเรื่องลึกลับ แต่มาเมื่อต้นปี ค.ศ. 2007[http://www.artsjournal.com/culturegrrl/2007/01/dr_gachet_sighting_it_was_flot.html] ก็มีข่าวมาว่าภาพเขียนถูกขายไปแล้วสิบปีก่อนหน้านั้นโดย Saitō เองให้แก่นักลงทุนทางการเงินที่เกิดในออสเตรียชื่อวูล์ฟกัง เฟลิทเทิล แต่หลังจากที่ประสบปัญหาทางการเงินเฟลิทเทิลก็ต้องขายภาพเขียนต่อแต่ยังไม่เป็นที่ทราบว่าใครเป็นผู้ซื้อ
 
* ภาพที่สองเป็นของ[[พิพิธภัณฑ์ออร์เซย์ออร์แซ]]ใน[[ปารีส]]
 
== อ้างอิง ==
บรรทัด 49:
 
{{จิตรกรรมตะวันตก}}
{{เรียงลำดับ|ภาพเหมือนของนายแพทย์กาเชต์แช}}
[[หมวดหมู่:ฟินเซนต์ ฟาน ก็อกฮ์]]
[[หมวดหมู่:จิตรกรรมในคริสต์ทศวรรษ 1890]]