ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประตูนรก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaLink: คอมมอนส์-หมวดหมู่-บรรทัด
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7:
| etitle = <small>La Porte de l'Enfer</small>
|-
|artist = [[ออโอกุสต์ โรแดงรอแด็ง]]
|-
|year discovered = [[ค.ศ. 1885]]
บรรทัด 22:
}}
 
'''ประตูนรก''' ({{lang-fr|La Porte de l'Enfer}},; {{lang-en|The Gates of Hell}}) เป็น[[ประติมากรรม]]กลุ่มขนาดใหญ่ที่สร้างโดย[[ออโอกุสต์ โรแดงรอแด็ง]]ประติมากรคนสำคัญ[[ชาวฝรั่งเศส]] ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่[[พิพิธภัณฑ์ออร์เซย์]]ใน[[กรุงปารีส]]ใน[[ประเทศฝรั่งเศส]]
 
ประติมากรรมชิ้นนี้เป็นภาพฉาก “[[นรกภูมิ (ดานเต)|นรกภูมิ]]” (Inferno)<!--Inferno (Dante)--> ซึ่งเป็นภูมิแรกของ “[[ไตรภูมิดานเต]]” โดย[[ดานเต อลิเกียริ]] มีขนาดสูง 6 เมตร, กว้าง 4 เมตร และ หนา 1 เมตร และประกอบด้วยตัวแบบ 180 ตัว ตัวแบบมีขนาดตั้งแต่ 15 เซนติเมตร จนถึงกว่า 1 เมตร ตัวแบบบางตัวก็นำมาขยายเป็นประติมากรรมชิ้นอิสระโดยโรแดงรอแด็ง
 
==ประวัติ==
ประติมากรรมชิ้นนี้ได้รับการจ้างให้สร้างขึ้นโดยผู้อำนวยการวิจิตรศิลป์เมื่อปี [[ค.ศ. 1880]] ให้สร้างเสร็จในปี [[ค.ศ. 1885]] แต่โรแดงรอแด็งก็ยังคงทำการสร้างอยู่เป็นพักๆ เป็นเวลา 37 ปี จนกระทั่งมาเสียชีวิตในปี [[ค.ศ. 1917]]
 
แต่พิพิธภัณฑ์ศิลปะตกแต่งก็มิได้รับการสร้างขึ้น งานของโรแดงรอแด็งชิ้นนี้จึงตั้งอยู่ที่[[Hôtel Biron|โอเตลบิรอง]] โรแดงรอแด็งอุทิศประติมากรรมชิ้นนี้, ภาพวาดลายเส้น และ สิทธิในการลอกเลียนในแก่รัฐบาลฝรั่งเศสในบั้นปลายของชีวิต ในปี [[ค.ศ. 1919]] สองปีหลังจากที่โรแดงเสียชีวิตรอแด็งเสียชีวิต[[Hôtel Biron|โอเตลบิรอง]]ก็กลายเป็น[[Musée Rodin|พิพิธภัณฑ์โรแดงรอแด็ง]]ซึ่งเป็นที่เก็บรักษา “ประตูนรก” และงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
 
==แรงบันดาลใจในการสร้าง “ประตูนรก”==
บรรทัด 37:
ประติมากรรมต้นฉบับเหล่านี้ได้รับการขยายและกลายเป็นงานศิลปะชิ้นเอกลักษณ์
 
* “'''[[คนครุ่นคิด (โรแดงรอแด็ง)|คนครุ่นคิด]]'''” หรือ “'''กวี'''” {{lang-fr|Le Penseur}}) ตั้งอยู่ตอนบนของประตูเหนือบานประตู การตีความหมายหนึ่งกล่าวว่าเป็นภาพของดานเตมองลงมายังผู้คนในนรกภูมิ อีกความหมายหนึ่งก็ว่าผู้ที่เป็นแบบคือโรแดงเองรอแด็งเอง ผู้กำลังครุ่นคิดถึงองค์ประกอบของงาน และบ้างก็เชื่อว่าเป็นภาพของอาดัมครุ่นคำนึงถึงความหายนะต่อมวลมนุษย์ที่ตนเป็นผู้นำมาหลังจาก[[ปฐมบาป|การกระทำบาปครั้งแรก]]
 
* “'''[[จูบ (โรแดงรอแด็ง)|จูบ]]'''” {{lang-fr|Le Baiser}} เดิมเป็นภาพที่เป็นส่วนหนึ่งของประตู เช่นภาพ “เพาโลและฟราเชสคาดาริมินี” โรแดงรอแด็งต้องการที่จะแสดงภาพของการเริ่มด้วยความปิติและการสิ้นสุดลงด้วยการถูกลงโทษ แต่ก็นำรูปลักษณ์นี้ออก และกลายมาเป็นประติมากรรมชิ้นที่รู้จักกันว่า “[[จูบ (โรแดงรอแด็ง)|จูบ]]” เพราะเป็นงานที่แสดงความรู้สึกอันตรงกันข้ามกับรูปลักษณ์อื่นๆ บนบานประตู
 
* “'''อูโลลิโนและบุตร'''” ({{lang-fr|Ugolin et ses enfants}}) เป็นประติมากรรมที่เป็นภาพของเคานท์[[Ugolino della Gherardesca|Ugolino della Gherardesca]]ผู้ตามตำนานแล้วกินซากศพลูกของตนเองหลังจากที่ลูกตายจากการอดอาหาร<ref>Dante, Inferno, Canto XXXIII</ref> กลุ่มอูโลลิโนต่อมาหล่อเป็นประติมากรรมสัมริดอีกชิ้นหนึ่งในปี ค.ศ. 1882
 
* “'''Les trois Ombres'''” เดิมเป็นประติมากรรมเป็นรูปลักษณ์สามรูปแยกกันในปี ค.ศ. 1899 ต่อมาโรแดงรอแด็งเชื่อมเข้าด้วยกันที่มือ คล้ายกับเวอร์ชันขนาดเล็กกว่า เดิมรูปลักษณ์ชี้ไปที่วลี "''Lasciate ogne speranza, voi ch'intrate''" ({{lang-th|สิ้นความหวังจนหมดสิ้น, ท่านผู้ที่เข้ามา ณ ที่นี่ }})<ref>{{cite book | author=Le Normand-Romain, Antoinette | title=Rodin:The Gates of Hell | location=Paris | publisher=Musée Rodin | year=1999 | isbn=2-9014-2869-X}}</ref>
 
* “'''ความรักเทียม'''” ({{lang-fr|Fugit Amor}}) ตั้งอยู่บนบานขวาของประตู เป็นประติมากรรมรูปลักษณ์หลายรูปของคนรักที่เป็นสัญลักษณ์ของเพาโลและรูปลักษณ์[[Francesca da Rimini|ฟรานเชสคาดาริมินี]] ภาพชายรู้จักกันในชื่อ ''The Prodigial'' ด้วย
 
* “'''เพาโลและฟรานเชสคาปาโอโลและฟรันเชสกา'''” ({{lang-en|Paolo and Francesca}}) เป็นประติมากรรมที่ตั้งอยู่บนบานซ้ายของประตู เพาปาโอโลพยายามดึงตัวฟรานเชสคาฟรันเชสกาที่ดูเหมือนจะหลุดลอยไป
 
* “'''คำนึง'''” ({{lang-en|Meditation}}) เป็นประติมากรรมที่อยู่ทางขวาสุดของ[[หน้าบัน]]ของประตู ที่สร้างเป็นงานชิ้นใหญ่ในปี ค.ศ. 1896
บรรทัด 57:
* “'''ฤดูใบไม้ผลิอันไม่สิ้นสุด'''” ({{lang-en|Eternal Springtime}}) เป็นประติมากรรมที่หล่อในปี ค.ศ. 1884
 
* “'''อาดัมและอีฟ'''” โรแดงรอแด็งของทุนเพิ่มขึ้นจากผู้อำนวยการในการสร้างงานประติมากรรมชิ้นนี้ โดยตั้งใจที่จะใช้ขนาบประตูสองข้าง
 
== ที่ตั้ง ==
พลาสเตอร์ของงานต้นฉบับได้รับการบูรณะในปี ค.ศ. 1917 และตั้งแสดงอยู่ที่ [[Musée Rodin|พิพิธภัณฑ์โรแดงรอแด็ง]] ในปารีส และพลาสเตอร์ที่แสดงขั้นตอนของการพัฒนาของงานตั้งแสดงอยู่ที่ [[Musée Rodin|พิพิธภัณฑ์โรแดงรอแด็ง]]ใน[[Meudon|มูดอง]] และในปี ค.ศ. 1917 เช่นกันก็ได้มีการสร้างหุ่นจำลองของพิมพ์ประติมากรรมสัมริดสำหรับ:
* [[Musée Rodin|พิพิธภัณฑ์โรแดงรอแด็ง]] ในปารีส
* [[Musée Rodin|พิพิธภัณฑ์โรแดงรอแด็ง]] ใน[[ฟิลาเดลเฟีย]]
* [[The National Museum of Western Art|พิพิธภัณฑ์ศิลปะตะวันตกแห่งชาติ]][http://www.nmwa.go.jp/] ใน[[โตเกียว]]
 
ต่อมาก็ได้มีการหล่อประติมากรรมสัมริดโดยพิพิธภัณฑ์โรแดงรอแด็งให้แก่สถาบันหลายสถาบันที่รวมทั้ง:
* [[Kunsthaus Zürich]], [[ซูริคซูริก]]
* สวนประติมากรรมโรแดงรอแด็ง บี. เจอราลด์ แคนเตอร์ที่[[มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด]]
* หอศิลป์โรแดงรอแด็ง, [[โซล]], [[เกาหลี]]
 
== อ้างอิง ==
บรรทัด 74:
 
==ดูเพิ่ม==
* [[ออโอกุสต์ โรแดงรอแด็ง]]
 
==แหล่งข้อมูลอื่น==
บรรทัด 87:
{{Paintings by Auguste Rodin}}
{{เรียงลำดับ|ประตูนรก}}
 
[[หมวดหมู่:ออกุสต์ โรแดง]]
[[หมวดหมู่:ประติมากรรมในคริสต์ทศวรรษ 1880]]