ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นักกฎหมาย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขของ ห.ห้องตรง (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย 117.47.12
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{เก็บกวาด}}
{{โปร}}
'''นักกฎหมาย''' หมายถึง ผู้ที่ใช้ความรู้ทาง[[กฎหมาย]]เป็นวิชาการประกอบการงานที่ตนปฏิบัติในสาขาต่าง ๆ เป็นคำรวมหมายความถึงผู้ประกอบการงานทางกฎหมายทุกประเภท ไม่เฉพาะผู้ที่ทำงานเกี่ยวกับศาล ซึ่งอาจแยกได้ดังนี้
 
'''นักกฎหมาย''' หมายถึง ผู้ที่ใช้ความรู้ทางกฎหมายเป็นวิชาการประกอบการงานที่ตนปฏิบัติในสาขาต่าง ๆ เป็นคำรวมหมายความถึงผู้ประกอบการงานทางกฎหมายทุกประเภท ไม่เฉพาะผู้ที่ทำงานเกี่ยวกับศาล ซึ่งอาจแยกได้ดังนี้
 
== ผู้ว่าความในวงการศาล ==
;ในประเทศไทยแบ่งออกเป็น
* หมอความ (lawyer) และ[[ทนายความ]] (attorney) ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
* counsel(ทนายความ) ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งใช้คำว่า
 
อาจารย์[[จิตติ ติงศภัทิย์]] ได้ให้คำนิยามไว้ว่าทนายความ หมายถึงผู้ดำเนินคดีในศาลแทนคู่ความ หมอความ หมายถึงผู้ทำงานทางกฎหมายโดยทั่วไป
หมอความ หมายถึงผู้ทำงานทางกฎหมายโดยทั่วไป
 
;ในอังกฤษจะแบ่งออกเป็น
* barrister ทำงานว่าความในศาล
* solicitor ทำงานก่อนเข้าดำเนินกระบวนพิจารณาในศาล
 
;ในฝรั่งเศสแบ่งออกเป็น
* avocat แถลงความในศาล เช่นเดียวกับ barrister
* avoue เป็นผู้แทนตัวความในศาล
เส้น 31 ⟶ 27:
 
== นักกฎหมายภาครัฐ (นิติกร) ==
ผู้ที่ทำงานทางกฎหมายของราชการนอกวงการศาลโดยเฉพาะ ได้แก่ นิติกร สำหรับนิติกรใน[[สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา]] จะทำหน้าที่ตรวจสอบร่างกฎหมาย และให้ความเห็นทางกฎหมายแก่หน่วยงานราชการที่ร้องขอ ซึ่งถือเป็นผู้ดำเนิน[[กระบวนการยุติธรรมทางปกครอง]]รูปแบบหนึ่ง ในลักษณะการตรวจสอบจากองค์กรของรัฐที่นอกเหนือจากศาลปกครอง
สำหรับนิติกรใน[[สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา]] จะทำหน้าที่ตรวจสอบร่างกฎหมาย และให้ความเห็นทางกฎหมายแก่หน่วยงานราชการที่ร้องขอ ซึ่งถือเป็นผู้ดำเนิน[[กระบวนการยุติธรรมทางปกครอง]]รูปแบบหนึ่ง ในลักษณะการตรวจสอบจากองค์กรของรัฐที่นอกเหนือจากศาลปกครอง
 
=== ครู-อาจารย์ ===
 
เป็นผู้ที่มีความรู้ทางกฎหมายในระดับที่สามารถให้ความรู้กับผู้เรียนได้ตามโรงเรียนมัทธยมต้น มัทธยมปลาย จนไปถึงขั้นอุดมศึกษา(ในวิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัย) ในที่นี้การเป็นครูอาจารย์นั้นมีอิทธิพลต่อนักกฎหมายเป็นอย่างมากเพราะแต่ละสถาบันจะมีอุดมการณ์ในการปลูกฝัังที่แตกต่างกันไปและครูอาจารย์ที่สอนกฎหมายนั้นบางครั้งอาจจะเป็นผู้ที่แต่งตำราวิชากฎหมายต่างๆให้นักเรียน-นักศึกษาก็เป็นได้
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
* จิตติ ติงศภัทิย์. หลักวิชาชีพนักกฎหมาย. กรุงเทพฯ: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ . หน้า 30-32
{{เริ่มอ้างอิง}}
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = จิตติ ติงศภัทิย์.| ชื่อหนังสือ = หลักวิชาชีพนักกฎหมาย.| URL = | จังหวัด = กรุงเทพฯ:| พิมพ์ที่ = คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์| ปี = | ISBN = | จำนวนหน้า = .| หน้า =30-32}}
{{จบอ้างอิง}}
 
== ดูเพิ่ม ==
เส้น 47 ⟶ 45:
 
[[หมวดหมู่:อาชีพ]]
{{โครงกฎหมาย}}
 
{{โครง}}