ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระกริ่งปวเรศ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Natachai (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 43:
[[สมเด็จพระสังฆราชเจ้ากรมหลวงวชิรญาณวงศ์]] แห่งวัดบวรนิเวศ เป็น[[สมเด็จพระสังฆราช]]พระองค์ที่ 13 เคยมีดำรัสถึงเรื่องพระกริ่งปวเรศนี้ว่า ตำราการสร้างพระกริ่งและตำรามงคลโลหะ ที่มีมาแต่โบราณสืบค้นได้ถึงสมัยสมเด็จพระพนรัตนวัดป่าแก้ว<ref>ตำนานวัดบวรนิเวศ [[วัดบวรนิเวศ]]</ref> ท่านอาจารย์ตรียัมปวาย ได้กล่าวถึงเรื่องพระกริ่งปวเรศไว้ดังนี้ "พระกริ่งปวเรศที่คนโบราณเขานิยมกันนั้น มีอยู่เนื้อเดียว คือเนื้อนวโลหะผิวกลับดำ เมื่อขัดเนื้อในจะเป็นสีจำปาเทศ และเมื่อทิ้งไว้ถูกกับอากาศจะกลับดำอีกครั้งหนึ่งในเวลาไม่นาน<ref>หนังสือพระสมเด็จโต เล่ม 1, [[ตรียัมปวาย]], 2495</ref> เนื้อนวโลหะ ประกอบไปด้วย โลหะ 9 อย่างได้แก่ ทองคำ เงิน ทองแดง จ้าวน้ำเงิน(พลวง) เหล็กละลายตัว ชิน(ตะกั่ว+ดีบุก) ตะกั่วน้ำนม ปรอท สังกะสี<ref>ตำนานวัดบวรนิเวศ [[วัดบวรนิเวศ]]</ref>
 
== ระเบียงภาพ ==
== พระกริ่งปวเรศ รุ่น 1 รูปแบบต่างๆ ==
<gallery>
ภาพไฟล์:กริ่งปวเรศ2404 2404หน้า.JPGjpg|รูปด้านหน้าของ [[พระกริ่งปวเรศ รุ่น 1]] [[พ.ศ. 2404]]
ภาพ:พระกริ่งปวเรศวัดบวรหน้า.jpg|รูปด้านหน้าของ [[พระกริ่งปวเรศ รุ่น 1]] [[พ.ศ. 2416]] วาระที่1 ร.5 ทรงผนวช องค์อยู่ในเก๋งจีน
ภาพ:พระกริ่งปวเรศวัดบวรหลัง.jpg|รูปด้านหลังของ [[พระกริ่งปวเรศ รุ่น 1]] [[พ.ศ. 2416]] วาระที่1 ร.5 ทรงผนวช องค์อยู่ในเก๋งจีน
ภาพ:พระกริ่งปวเรศแต่งขอบ.jpg|พระกริ่งปวเรศ รุ่น 1 เบ้าพิมพ์ประกบ 2 [[พ.ศ. 2411]] และ [[พ.ศ. 2434]]
ภาพ:รอยประกบบริเวณเศียรพระ.jpg|รอยประกบบริเวณเศียรพระกริ่งปวเรศ รุ่น 1 [[พ.ศ. 2411]] และ [[พ.ศ. 2434]] เบ้าพิมพ์ประกบ 3