ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การ์ตูนไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{แก้ภาษา}}
'''การ์ตูนไทย''' ประวัติจากคำบอกเล่า เริ่มต้นจากเป็นการ์ตูนแนวนิยายพื้นบ้าน ผี และแนวจักร ๆ วงศ์ ๆ ราคาเล่มละหนึ่งบาท โดยมีนักเขียนการ์ตูนที่มีชื่อเสียงสมัยนั้น เช่น [[จุก เบี้ยวสกุล]] ต่อมาเริ่มมีการ์ตูนแนวตลกสั้น ๆ ในลักษณะ [[การ์ตูน 3 ช่องจบ]] ออกมาเพิ่ม เช่น [[เบบี้]] [[หนูจ๋า]] [[ขายหัวเราะ]] และ [[มหาสนุก]] ส่วนการ์ตูนไทยในลักษณะ[[มังงะ]]อย่างที่พบเห็นทั่วไปในปัจจุบันนั้น น่าจะมีมาไม่ถึงยี่สิบปี โดยนิตยสารการ์ตูนไทยในแนวมังงะยุคบุกเบิกได้แก่ [[ไทคอมมิค]] (Thai Comic) ของ[[สำนักพิมพ์วิบูลย์กิจ]] และ [[เอ-คอมมิค]] (a-comic) และ cartoon thai studio ของ สยามอินเตอร์คอมมิค
{{เพิ่มอ้างอิง}}
'''การ์ตูนไทย''' ประวัติจากคำบอกเล่า เริ่มต้นจากเป็นการ์ตูนแนวนิยายพื้นบ้าน ผี และแนวจักร ๆ วงศ์ ๆ ราคาเล่มละหนึ่งบาท
นักเขียนการ์ตูนที่มีชื่อเสียงสมัยนั้น เช่น [[จุก เบี้ยวสกุล]] ต่อมาเริ่มมีการ์ตูนแนวตลกสั้น ๆ ในลักษณะ [[การ์ตูน 3 ช่องจบ]] ออกมาเพิ่ม เช่น [[เบบี้]] [[หนูจ๋า]] [[ขายหัวเราะ]] และ [[มหาสนุก]]
 
ส่วนการ์ตูนไทยในลักษณะ[[มังงะ]]อย่างที่พบเห็นทั่วไปในปัจจุบันนั้น น่าจะมีมาไม่ถึงยี่สิบปี โดยนิตยสารการ์ตูนไทยในแนวมังงะยุคบุกเบิกได้แก่ [[ไทคอมมิค]] (Thai Comic) ของ[[สำนักพิมพ์วิบูลย์กิจ]] และ [[เอ-คอมมิค]] (a-comic) และ cartoon thai studio ของ สยามอินเตอร์คอมมิค
 
== ประวัติ ==
==== ยุคแรก ====
[[ไฟล์:Cartoon-football-Pleng Traipin.jpg|thumb|250px|ภาพล้อฝีมือ[[ขุนปฏิภาคพิมพ์ลิขิต]] (เปล่ง ไตรปิ่น) นักเขียนการ์ตูนล้อการเมืองคนแรกของไทย]]
[[ไฟล์:cartoon005.gif|thumb|ปกหนังสือการ์ตูนเล่มละบาทของ[[สำนักพิมพ์บางกอกสาส์น]]วาดโดย ชายชล ชีวิน]]
เส้น 22 ⟶ 19:
การ์ตูนไทยยังแอบทำหน้าที่เงียบๆ ตามซอกหลืบ เป็นการ์ตูนราคาถูกที่พอให้ผู้อ่านหาซื้อได้โดยเบียดเบียนเงินในกระเป๋าให้น้อยที่สุด อาจจะลดคุณภาพลงบ้างตามความจำเป็น นี่คือยุคของ "[[การ์ตูนเล่มละบาท]]" โดยเริ่มเกิดขึนครั้งแรกโดยสำนักพิมพ์สากล ต่อมาหลายสำนักพิมพ์ก็ทำตามออกมา สำนักพิมพ์สุภา,บางกอกสาส์น,สำนักพิมพ์สามดาว เป็นต้น นับว่าเป็นช่วงเวลาที่ยาวนานที่การ์ตูนทำหน้าที่เพื่อต่อผ่านไปยังการ์ตูนยุคต่อมา แม้กระนั้นนักเขียนการ์ตูนยุคนั้นก็ฝากฝีมือไว้ได้อย่างยอดเยี่ยมหลายท่านด้วยก้น เช่น นักรบ รุ่งแก้ว,รุ่ง เจ้าเก่า,ชายชล ชีวิน,แมวเหมียว,ราตรี,น้อย ดาวพระศุกร์,ดาวเหนือ,เพลิน,เทพบุตร,มารุต เสกสิทธิ์,นอม เป็นต้น โดยบางครั้งก็ได้[[นักเขียนการ์ตูน]]ที่มีชื่อเสียงในยุคก่อนหน้านั้นช่วยเขียนปกให้ เพื่อเสริมคุณภาพขึ้นอีกระดับหนึ่ง เช่น [[จุก เบี้ยวสกุล]] เป็นเหตุทำให้การ์ตูนเล่มละบาท ได้รับความนิยมขึ้นเป็นอย่างมากในยุคหนึ่ง จนสามารถทำให้คำว่า"[[การ์ตูนเล่มละบาท]]" กลายเป็นตำนาน เป็นชื่อเฉพาะ และเป็นสัญลักษณ์ ที่เรียกกันมาจนถึงทุกวันนี้ เป็นสไตล์การ์ตูนที่มีลักษณะเฉพาะสำนักพิมพ์ที่เป็นแหล่งรวมของ[[นักเขียนการ์ตูน]] มีมากมาย เช่น บางกอกสาส์น, ชนะชัย การ์ตูนเล่มละบาทนี้เป็นที่ฝึกฝนฝีมือของนักเขียนการ์ตูนหน้าใหม่ นักเรียนศิลปะที่ต้องการหารายได้ในระหว่างเรียนหนังสือ ปัจจุบันหลายท่านกลายเป็น[[นักเขียนการ์ตูน]]คุณภาพระดับแนวหน้าของเมืองไทยแนวเรื่องของการ์ตุนเล่มละบาท มีทั้งเรื่องชีวิต, เรื่องผี, เรื่องตลก, นิทาน, เซ็กซ์ โดยเฉพาะเรื่อง "ผี" เป็นเรื่องที่ได้รับความนิยมอย่างมากของผู้อ่าน เป็นความตื่นเต้นแบบง่ายๆ ที่ใกล้ชิดชาวบ้านมากที่สุด
 
==== ยุคปัจจุบัน ====
ปัจจุบัน การ์ตูนไทยที่ถือได้ว่าครองใจคนทุกเพศทุกวัยเป็นอันดับหนึ่งของประเทศในเวลานี้ก็คือ [[ขายหัวเราะ]]-[[มหาสนุก]] ในเครือ[[สำนักพิมพ์บรรลือสาส์น]] ซึ่งแนวทางการ์ตูนจะเป็นการ์ตูนประเภท[[การ์ตูนแก๊ก]]และ[[การ์ตูนเรื่องสั้น]]จบในตอนเป็นส่วนใหญ่ ขณะเดียวกันก็เริ่มมีการพัฒนาการ์ตูนไทยรูปแบบคอมมิคขึ้น จากกลุ่มคนที่มีประสบการณ์การอ่านการ์ตูนแนว[[มังงะ]]ของ[[ญี่ปุ่น]] เท่าที่ปรากฏในเวลานี้ สำนักพิมพ์ที่ตีพิมพ์การ์ตูนไทยแนวดังกล่าวได้แก่ สำนักพิมพ์[[สยามอินเตอร์คอมิกส์]] สำนักพิมพ์[[บุรพัฒน์]] และสำนักพิมพ์[[เนชั่นเอ็ดดูเทนเมนท์]] ตลาดของการ์ตูนกลุ่มนี้ส่วนใหญ่เน้นที่กลุ่มวัยรุ่น ในขณะที่การ์ตูนนิยายภาพแบบดั้งเดิมยังคงมีการผลิตอยู่เรื่อยๆ ซึ่งส่วนใหญ่จะอิงกับตลาดระดับล่าง เช่นหนังสือเล่มละบาท ซึ่งปัจจุบันปรับตัวมาขายในราคาเล่มละห้าบาทการ์ตูนในเมืองไทยเริ่มพัฒนาต่อเนือง หลังจากการ์ตูนแนวญี่ปุ่นเข้ามากระตุ้นตลาดการ์ตูนไทยในช่วงหลายปี่ที่ผ่าน นักวาดการ์ตูนที่เป็นเด็กรุ่นไหม่ได้ซึมซับการ์ตูนแนวมังงะจนเกิดการ์ตูนแนวนี้ขึ้นมาอย่างแพร่หลายในตลาด มีหลายสำนักพิมพ์ที่เป็นหัวหอกสำคัญทำหนังสือการ์ตูนไทยในแนวมังงะ เช่นไทยคอมมิก ของวิบูลย์กิจ การตอบรับของผู้อ่านเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว จึงเกิดเหตุการณ์การ์ตูนแนวมังงะฟรีเวอร์ เกิดการ์ตูนความรู้ในรูปแบบการ์ตูนภาพเกิดขึ้น เช่นเรื่อง รามเกียรติ ซึ่งประสบความสำเร็จขายดีถล่มทลาย จนมีหนังสือในแนวนี้ออกมาเต็มตลาดอย่างที่เห็นในปัจจุบัน กระตุ้นให้เกิดนักวาดการ์ตูนมากมายซึ่งเป็นผลดีต่อวงการเป็นอย่างมาก
 
เส้น 29 ⟶ 27:
 
== การตอบรับ ==
เดิมที หลายคนต่างมีความเห็นว่าวงการการ์ตูนไทยอาจไปไม่รอด แต่ในปัจจุบัน การ์ตูนไทยได้เป็นสื่อที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง รวมทั้ง มี[[นักเขียนการ์ตูน]][[ชาวไทย]]หลายท่านที่ประสบความสำเร็จโดยสามารถสร้างชื่อเสียงในต่างแดน<ref>[http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/life-style/read-write/20120205/434198/คลื่นอันร้อนแรง-การ์ตูนไทยยุคใหม่.html คลื่นอันร้อนแรง 'การ์ตูนไทยยุคใหม่']</ref> ครั้งหนึ่ง [[วีรวิชญ์ ธนพงศ์ทวีวุฒิ]] ซึ่งเป็นนักวาดการ์ตูนไทยเจ้าของนามปากกา ปีกนกบูรพา ได้ให้สัมภาษณ์กับทาง[[มติชน (หนังสือพิมพ์)|มติชน]]ว่า ปัจจุบัน ภาพลักษณ์ของวงการการ์ตูนไทยดีกว่าที่มีอยู่เดิมเป็นอย่างมาก โดยเริ่มได้รับความนิยมตั้งแต่ช่วง พ.ศ. 2553 - 2554 ซึ่งมีการจ้างงานและจัดจำหน่ายเพิ่มขึ้น ซึ่งแตกต่างจากสมัยก่อนที่ภาพพจน์ของ[[นักเขียนการ์ตูน]]ไม่ค่อยดีเท่าใดนัก ก่อนที่กลุ่มนักเขียนการ์ตูนได้ร่วมกันช่วยยกระดับให้ดีขึ้นในเวลาต่อมา<ref>กฤตยา เชื่อมวราศาสตร์. '''หนังสือพิมพ์มติชนรายวัน'''. ปีที่ 34 ฉบับที่ 12335. วันอาทิตย์ที่ 18 ธันวาคม 2554. หน้า 14</ref>
 
== ภาพยนตร์การ์ตูนไทย ==