ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
'''วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา''' ({{lang-en|Cuban Missle Crisis}}) คือการเผชิญหน้าทางทหารระหว่าง[[สหรัฐอเมริกา]]ฝ่ายหนึ่ง กับ[[สหภาพโซเวียต]]และ[[ประเทศคิวบา]]อีกฝ่ายหนึ่ง ในช่วงเวลาที่[[สงครามเย็น]]อยู่ในช่วงความตึงเครียดจนเกือบจะกลายไปเป็น[[สงครามปรมาณู]] ชาวรัสเซียเรียกเหตุการณ์นี้ว่า'''วิกฤตการณ์แคริบเบียน''' ส่วนชาวคิวบาเรียกมันว่า'''วิกฤตการณ์เดือนตุลาคม''' เหตุการณ์ครั้งนี้ถือเป็นหนึ่งในการเผชิญหน้าครั้งสำคัญในสงครามเย็นนอกจาก[[การปิดล้อมเบอร์ลิน]]{{อ้างอิง}}
 
การเผชิญหน้าเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ [[14 ตุลาคม]] [[ค.ศ. 1962]] เมื่อภาพถ่ายจากเครื่องบินสังเกตการณ์ [[ยู-2]] ของสหรัฐอเมริกา เผยให้เห็นฐานปล่อย[[ขีปนาวุธ]] กำลังถูกสร้างขึ้นในคิวบา ภายใต้การปกครองของ[[ฟิเดลฟีเดล คาสโตรกัสโตร]] เพื่อตอบโต้การสร้างฐานขีปนาวุธของสหรัฐอเมริกา ณ บริเวณพรมแดนของ[[ประเทศตุรกี|ตุรกี]]และสหภาพโซเวียต
 
ทางสหรัฐอเมริกาได้กำหนดมาตรการกักกัน ส่งเรือรบเข้าปิดล้อมคิวบา ห้ามเรือบรรทุกสินค้าทุกลำผ่านเข้ามาในน่านน้ำ[[ทะเลแคริบเบียน]] เมื่อวันที่ [[23 ตุลาคม]] ค.ศ. 1962 หลังจากการเผชิญหน้าผ่านการโต้ตอบทางการทูตอย่างดุเดือด ในวันที่ [[28 ตุลาคม]] ค.ศ. 1962 ทั้ง[[ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา]] [[จอห์น เอฟ. เคนเนดี]] และนายกรัฐมนตรีแห่งสหภาพโซเวียต [[นิกิตา ครุสชอฟ]] ต่างตกลงยินยอมที่จะถอนอาวุธปรมาณูของตนออกจากตุรกีและคิวบาตามลำดับ จากการร้องขอของ[[อู ถั่น]] ซึ่งดำรงตำแหน่ง[[เลขาธิการสหประชาชาติ]]ในเวลานั้น
 
== เบื้องหลัง ==
สหรัฐอเมริกาที่หวาดกลัวในการขยาย[[คอมมิวนิสต์]]ของสหภาพโซเวียต แต่สำหรับประเทศแถบ[[ละตินอเมริกา]] การเป็นมิตรกับสหภาพโซเวียตอย่างเปิดเผยนั้นถูกมองว่าไม่สามารถเป็นที่ยอมรับได้ ทำให้สหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตเป็นศัตรูกันมานับตั้งแต่การสิ้นสุดของ[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ในปี [[ค.ศ. 1945]] การเข้าไปเกี่ยวข้องเช่นนั้นยังเป็นการปฏิเสธ[[ลัทธิมอนโร]] ซึ่งป้องกันไม่ให้อำนาจใน[[ยุโรป]]เข้ามาแทรกแซงในเรื่องของ[[ทวีปอเมริกาใต้]]
 
ในปลายปี [[ค.ศ. 1961]] [[ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา]] นาย[[จอห์น เอฟ. เคนเนดี]]ได้เริ่มปฏิบัติการมองกูซ เป็นหนึ่งในปฏิบัติการต่อต้านรัฐบาลของ[[ฟิเดลฟีเดล คาสโตรกัสโตร]] แต่ไม่ประสบความสำเร็จ<ref name=chronology>{{citation
| url = http://andromeda.rutgers.edu/~hbf/missile.htm | title = [excerpts from] The Cuban Missile Crisis - An In-Depth Chronology
| first = Jane | last = Franklin}}</ref> และสหรัฐอเมริกายังได้ออกมาตรการห้ามขนส่งสินค้าไปยังคิวบา ในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1962<ref>{{cite web
บรรทัด 20:
สหรัฐอเมริกายังได้ทำปฏิบัติการลับและได้ส่งเจ้าหน้าที่[[ซีไอเอ]]เข้าไป<ref>Shadow Warrior: The CIA Hero of 100 unknown battles, Felix Rodriguez and John Weisman, Publisher: Simon & Schuster, October 1989, ISBN 978-0-671-66721-4 </ref> นายพล[[เคอร์ติส เลอเมย์]]ได้แสดงแผนการทิ้งระเบิดให้กับเคนเนดีในเดือนกันยายน ในขณะที่การบินสอดแนมและการก่อกวนขนาดเล็กจากฐานทัพเรือกวนตานาโมของสหรัฐอเมริกา เป็นสิ่งที่คิวบากล่าวโทษต่อรัฐบาลสหรัฐอเมริกา
 
ในเดือนกันยายน ค.ศ. 1962 รัฐบาลคิวบาได้เห็นหลักฐานสำคัญที่แสดงว่าสหรัฐอเมริกาจะทำการรุกรานตน<ref>Cuban resolution,october U.S. Public Law 87-733, S.J. Res. 230</ref> ผลที่ตามมาคือ คาสโตรกัสโตร และนายกรัฐมนตรีของสหภาพโซเวียต [[นิกิตา ครุสชอฟ]] ตกลงที่จะติดตั้งขีปนาวุธนิวเคลียร์อย่างลับ ๆ ในคิวบา ครุสชอฟรู้สึกว่าการรุกรานของสหรัฐอเมริกาต่อคิวบาเป็นสิ่งที่จะเกิดขึ้นในไม่ช้า และการสูญเสียคิวบาจะส่งผลร้ายแรงของการขยายตัวของคอมมิวนิสต์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในละตินอเมริกา เขากล่าวว่าเขาต้องการเผชิญหน้ากับอเมริกาด้วยขีปนาวุธ<ref>quote in Weldes, J. - "Constructing National Interests: The United States and the Cuban Missile Crisis" University of Minnesota Press, 1999 p.29</ref>
 
ความตึงเครียดเพิ่มมากขึ้นนับตั้งแต่วันที่ 8 ตุลาคม ค.ศ. 1962 ในวันที่ 14 ตุลาคม การลาดตระเวนของสหรัฐอเมริกาไปพบเข้ากับฐานปล่อย[[ขีปนาวุธ]]ที่กำลังถูกสร้างขึ้นในคิวบา
บรรทัด 117:
 
[[ไฟล์:S-75 Dzwina RB2.jpg|thumb|left|[[เอสเอ-2 ไกด์ไลน์|เอส-75 ดวิน่า]]กับขีปนาวุธวี-750วี 1ดีบนแท่นยิง มันเป็นขีปนาวุธที่คล้ายกับลูกที่ยิงเครื่องบินยู-2 ของผู้พันแอนเดอร์สันตกในคิวบา]]
ในอีกทางหนึ่งคาสโตรกัสโตรเชื่อว่าการบุกจะเริ่มขึ้นในไม่ช้า และได้ส่งจดหมายไปยังครุสชอฟซึ่งดูเหมือนว่าให้มีการเข้าโจมตีสหรัฐ เขายังได้สั่งการให้อาวุธต่อต้านอากาศยานทุกชิ้นในคิวบายิงใส่เครื่องบินของสหรัฐทุกลำที่ผ่านเข้ามา เมื่อเวลา 06.00 ของวันที่ 27 ตุลาคม ซีไอเอได้ส่งรายงานว่ามีที่ตั้งของขีปนาวุธสี่แห่งที่ซาน คริสโตบัลและอีกสองแห่งที่ซากู ลา กรองซึ่งดูเหมือนว่าจะพร้อมสำหรับการใช้งาน พวกเขายังแนะว่ากองทัพของคิวบานั้นยังคงเตรียมพร้อมสำหรับปฏิบัติการ แม้ว่าพวกเขาจะได้รับคำสั่งให้นิ่งเฉยหากไม่ได้ถูกโจมตีก่อน
 
เมื่อเวลา 09.00 ที่มอสโคว์เริ่มมีการประกาศกระจายเสียงทางวิทยุซึ่งเป็นข้อความจากครุสชอฟ ตรงกันข้ามกับจดหมายเมื่อคืนก่อน ข้อความนั้นได้เสนอการแลกเปลี่ยนแบบใหม่ ว่าด้วยการที่ขีปนาวุธในคิวบาจะถูกถอนออกเพื่อแลกกับการที่อเมริกาถอนขีปนาวุธจูปิเตอร์ออกจากตุรกี ตลอดช่วงวิกฤตการณ์ตุรกีได้แถลงการซ้ำหลายครั้งว่ามันอาจเป็นการพ่ายแพ้หากขีปนาวุธจูปิเตอร์ถูกถอนออกจาประเทศของพวกเขา เมื่อเวลา 10.00 คณะกรรมการบริการทำการประชุมอีกครั้งเพื่อหารือสถานการณ์และได้ข้อสรุปว่าการเปลี่ยนแปลงของข้อความนั้นเกิดขึ้นจากการขัดแย้งกันภายในระหว่างครุสชอฟกับสมาชิกพรรคคนอื่น ๆ ในเครมลิน<ref>For the President's Eyes Only, pg. 300</ref> แมคนามาร่าได้เตือนว่ามีเรือบรรทุกอีกลำอยู่ห่างไปประมาณ 970 กิโลเมตรที่ควรถูกสกัดกั้น เขายังบอกด้วยว่าพวกเขาไม่ได้ทำให้สหภาพโซเวียตตื่นตระหนกถึงเส้นกักกันและแนะว่าให้ส่งข้อมูลเหล่านี้ผ่านทาง[[อู ถั่น]]ที่ยูเอ็น
บรรทัด 156:
เคนเนดีตอบรับในทันทีด้วยการแถลงการทางจดหมายว่ามันเป็นการช่วยรักษาความสงบ เขายังว่าต่อด้วยว่าจดหมายฉบับก่อน ๆ ที่ว่า "ข้าพเจ้าตัดสินใจส่งจดหมายให้ท่านในวันที่ 27 ตุลาคมและการตอบรับของท่านในวันนี้เป็นการยืนยันสัญญาของรัฐบาลทั้งสองซึ่งควรจะคงอยู่ต่อไป... สหรัฐจะทำการแถลงในขอบข่ายงานของสภาความมั่นคงเพื่ออ้างอิงถึงคิวบา มันจะเป็นที่ชัดเจนว่าสหรัฐอเมริกาจะไม่รุกล้ำเขตแดนและอำนาจของคิวบา ซึ่งจะไม่ก้าวก่ายงานภายในประเทศ ไม่ใช่เพื่อการรุกรานและไม่ใช่เพื่ออนุญาตให้ใช้อาณาเขตของสหรัฐเป็นหัวหอกในการโจมตีคิวบา และจะยับยั้งผู้ที่วางแผนจะโจมตีคิวบา"<ref name=Faria>Faria p. 103</ref>
 
ผลกระทบที่เกิดขึ้นจริงจากข้อตกลงของเคนเนดีและคุรสชอฟคือมันได้ทำให้ตำแหน่งของคาสโตรกัสโตรแข็งแกร่งขึ้นอย่างมากในคิวบา ซึ่งเขาจะไม่ถูกรุกล้ำโดยสหรัฐ มันเป็นไปได้ที่ครุสชอฟนำขีปนาวุธเข้าคิวบาเพียงเพื่อที่จะทำให้เคนเนดีถอนขีปนาวุธออกจากตุรกี และโซเวียตนั้นไม่มีเจตนาในการเริ่มสงครามนิวเคลียร์หาพวกเขามีอาวุธน้อยกว่าฝ่ายอเมริกา อย่างไรก็ตามเนื่องมาจากการถอนขีปนาวุธออกจากตุรกีไม่ได้เปิดเผยต่อสาธารณะในเวลานั้น ครุสชอฟจึงดูเหมือนว่าพ่ายแพ้และกลายเป็นคนอ่อนแอ แนวคิดคือเคนเนดีมีชัยในการแข่งขันทางอำนาจและครุสชอฟก็ต้องอับอาย อย่างไรก็ดีครุสชอฟก็ยังครองอำนาจไปอีก 2 ปี<ref name=Faria>Faria p. 102-105</ref>
 
== ผลสืบเนื่อง ==