ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ครีบยันลอย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
WikitanvirBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต แก้ไข: ko:버팀도리
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ระวังสับสน|ค้ำครีบยัน}}
[[ไฟล์:Lincoln cathedral 06 Chapterhouse.jpg|right|thumb|250px|กำแพงค้ำครีบยันแบบปึกนอกหอประชุมสงฆ์ที่[[มหาวิหารลิงคอล์น]]]]
[[ไฟล์:bath.abbey.flying.buttresses.arp.jpg|thumb|250px|กำแพงค้ำครีบยันแบบปึกที่[[มหาวิหารบาธ]]ที่[[อังกฤษ]] 5 ใน 6 ค้ำครีบยันที่เห็นรับน้ำหนักทางเดินกลาง (nave) อันที่ 6 รับน้ำหนักแขนกางเขน (transept)]]
[[ไฟล์:Arc.boutant.cathedrale.Amiens.png|thumb|250px|ค้ำครีบยันปีกลอยที่[[มหาวิหารอาเมียง]]]]
 
'''ครีบยันลอย''' (ภาษาอังกฤษ: {{lang-en|flying buttress หรือ , arc-boutant}}) ในทาง[[สถาปัตยกรรม]]ครีบยันลอยเป็น[[ค้ำครีบยัน]]<ref>มะลิฉัตร เอื้ออานันท์. “พจนานุกรมศัพท์ศิลปะ” สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, พ.ศ. 2545</ref> (Buttress) ประเภทหนึ่งที่มักจะใช้ในการก่อสร้าง[[คริสต์ศาสนสถาน]]เพื่อแบ่งรับน้ำหนักจากหลังคามาสู่ค้ำครีบยันที่กระจายออกไปเป็นระยะๆระยะ ๆ ซึ่งอาจจะเป็น[[ช่องทางเดิน|ช่องทางเดินข้าง]] (aisle) คูหาสวดมนต์ หรือระเบียงนอกสิ่งก่อสร้าง ครีบยันลอยต่างกับค้ำครีบยันตรงที่จะมีลักษณะที่กางออกไปจากตัวสิ่งก่อสร้างแทนที่จะเป็นส่วนหนึ่งหรือแนบกับตัวสิ่งก่อสร้างของค้ำครีบยัน การใช้ค้ำครีบยันปีกลอยทำให้ทุ่นการรับน้ำหนักหรือแรงกดดันกำแพงที่แต่เดิมต้องรับน้ำหนักและความกดดันทั้งหมด จึงทำให้สามารถทำหน้าต่างได้กว้างขึ้นได้ ซึ่งถ้าทำเช่นนั้นโดยไม่มีค้ำครีบยันปีกลอยก็จะทำให้กำแพงไม่แข็งแรง
 
จุดประสงค์ของค้ำครีบยันแบบปีกลอยก็เพื่อช่วยลดน้ำหนักกดดันของกำแพงทางเดินกลาง แรงกดดันและน้ำหนักส่วนใหญ่จะอยู่ส่วนบนของค้ำครีบยันฉะนั้นเมื่อทำค้ำครีบยันเป็นครึ่งซุ้มโค้งก็ทำให้สามารถรับน้ำหนักได้เท่าๆเท่า ๆ กับค้ำครีบยันที่ตัน นอกจากนั้นยังทำให้ค้ำครีบยันเบาขึ้นและราคาถูกกว่าที่จะสร้าง ฉะนั้นกำแพงจึง “บิน” (flying) ออกไปจากสิ่งก่อสร้างแทนที่จะเป็นกำแพงทึบจึงทำให้เรียกกันว่า ค้ำครีบยันปีก”ลอย”
 
วิธีการก่อสร้างที่ใช้[[ค้ำครีบยัน]]มีมาตั้งแต่สมัย[[สถาปัตยกรรมโรมัน]]และต้น[[สถาปัตยกรรมโรมาเนสก์|โรมาเนสก์]]แต่[[สถาปนิก]]มักจะพรางค้ำครีบยันโดยการซ่อนไว้ใต้หลังคา เมื่อมาถึงคริสต์ศตวรรษที่ 12 สถาปนิกเมื่อมีการวิวัฒนาการการสร้างค้ำครีบยันปีกลอยกันขึ้น นอกจากสถาปนิกจะเห็นถึงความสำคัญของค้ำครีบยันที่ใช้แล้ว ก็ยังหันมาเน้นการใช้ค้ำครีบยันเป็นสิ่งตกแต่งสิ่งก่อสร้างเช่นที่[[มหาวิหารโนเทรอดามแห่งชาร์ทร์ชาทร์]] [[Le Mans Cathedral|มหาวิหารเลอมานส์ม็อง]] (Le Mans Cathedral) [[Beauvais Cathedral|มหาวิหารโบเวส์แว]] (Beauvais Cathedral) [[มหาวิหารโนเทรอดามแห่งแรงส์แร็ง]] และ [[มหาวิหารโนเทรอน็อทร์-ดามแห่งปารีส]]เอง
 
บางครั้งเมื่อเพดานสูงมากๆ สถาปนิกก็อาจจะใช้ค้ำครีบยันปีกลอยซ้อนกันสองชั้นหรือบางครั้งการจ่ายน้ำหนักก็จะกระจายออกไปกับค้ำครีบยันสามสี่อัน ตามปกติแล้วน้ำหนักของค้ำครีบยันก็จะเพิ่มน้ำให้กับตัวอาคารพอสมควร ฉะนั้นค้ำครีบยันจึงกลายเป็นส่วนหนึ่งของสิ่งก่อสร้างที่สำคัญ การใช้ค้ำครีบยันดิ่งเป็นระยะๆระยะ ๆ ทำให้เพิ่มการรับน้ำหนักและแรงกดทับได้ดีขึ้นกว่าที่จะสร้างตลอดแนวกำแพง ค้ำครีบยันดิ่งที่ใช้ในการก่อสร้าง [[มหาวิหารลิงคอล์น]] [[แอบบีเวสต์มินสเตอร์]]อยู่ภายนอกหอประชุมสงฆ์ ค้ำครีบยันดิ่งมักจะใช้ยอดแหลม (pinnacle) เหนือค้ำครีบยันในการสร้างแรงต่อต้านการรับน้ำหนักของสิ่งก่อสร้างเพิ่มขึ้น
 
วิธีการก่อสร้างนี้ถูกนำไปใช้โดยสถาปนิกชาวแคนาดาวิลเลียม พี แอนเดอร์สันในการสร้าง[[ประภาคาร]]เมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20<ref>Russ Rowlett, [http://www.unc.edu/~rowlett/lighthouse/types/buttressed.htm Canadian Flying Buttress Lighthouses], in [http://www.unc.edu/~rowlett/lighthouse/index.htm ''The Lighthouse Directory''].</ref>