ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อาเลฟ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Escarbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2) (โรบอต ลบ: ja:ا, wuu:ا
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{อักษรอาหรับ|ا|ى}}
'''อะลิฟอาเลฟ''' หรือ อลิฟ(ا{{IPA|Aleph}}) เป็นอักษรตัวแรกของ[[อักษรอาหรับฮีบรู]] ตรงกับ[[อักษรฮีบรูอาหรับ]] ({{lang|ar|ا}};อเลฟ”อลิฟ”) [[อักษรกรีก]] “[[อัลฟา]]” และ[[อักษรละติน]] “[[A]]” พัฒนามาจาก[[อักษรฟินิเชีย]] ʾāleph ซึ่งมาจาก[[อักษรคานาอันไนต์]] ʾalp “วัว”
 
อักษรนี้ในภาษาอาหรับ ใช้แทนเสียง /อ/ หรือเสียงสระอา เพื่อแสดงว่าอะลิฟนั้น อลิฟนั้นแทนเสียงพยัญชนะหรือสระ จึงเพิ่ม [[ฮัมซะหฺซะฮ์]] (ء) ขึ้นมา เรียกว่า ฮัมซะตุลก็อฏอิ ฮัมซะหฺ ซะฮ์ไม่ถือว่าเป็นตัวอักษรเต็มตัวเท่ากับอักษรอื่น ๆ เพราะมักจะใช้คู่กับตัวพาคือ [[วาว]] ({{lang|ar|و}}), [[ยาอุยาอ์]]ที่ไม่มีจุดข้างล่าง ({{lang|ar|ی}}) และอะลิฟอลิฟ ({{lang|ar|ا}}) อะลิฟอลิฟใช้คู่กับฮัมซะหฺ ซะฮ์เมื่อเป็นพยางค์แรกของคำ และประสมสระเสียงสั้น โดยอยู่ข้างบน <font size=5>({{lang|ar|أ}}) </font>เมื่อเป็นเสียงสระอะ หรืออุ และอยู่ข้างล่าง <font size=5>({{lang|ar|إ}})</font> เมื่อเป็นเสียงสระอิ ถ้าอะลิฟอลิฟเป็นสระเสียงยาวจะไม่แสดงฮัมซะหฺซะฮ์
 
ฮัมซะหฺชนิดที่ซะฮ์ชนิดที่ 2 ฮัมซะตุลวัศลิ ใช้เฉพาะกับหน่วยเสียงแรกของคำว่า {{lang|ar|ال}} (อัล) อันเป็นคำกำหนดชี้เฉพาะ หรือคำในกรณีใกล้เคียงกัน ต่างจากฮัมซะหฺซะฮ์ชนิดแรกตรงที่ว่า จะถูกยกเลิกเมื่อมีสระอยู่ข้างหน้า ฮัมซะหฺซะฮ์ชนิดนี้ใช้อะลิฟเป็นตัวพาเท่านั้น ปกติจะไม่เขียนอักษรฮัมซะหฺซะฮ์ แต่จะเขียน อะลิฟ อลิฟเพียงอย่างเดียว
 
อะลิฟ มัดดะอลิฟมัดดะ (alif madda) ใช้ในกรณีที่อะลิฟ 2 ตัวเขียนติดกัน (เสียงอา) จะเขียนอะลิฟในรูป <font size=5>({{lang|ar|آ}}) </font> เช่น {{lang|ar|القرآن}} ([[อัลกุรอาน]])
 
อะลิฟ มักศูเราะหฺอลิฟมักศูเราะฮ์ (alif maqsūrah) รูปร่างเหมือนตัวยาอุยาอ์ที่ไม่มีจุดข้างล่าง ({{lang|ar|ی}}) ใช้เฉพาะตำแหน่งท้ายคำเท่านั้น ใช้แทนเสียงสระอา เช่นเดียวกับ อะลิฟอลิฟ
 
ในคำทับศัพท์ภาษาอาหรับจะแทนฮัมซะหฺด้วย ซะฮ์ด้วย อ์ เมื่อเป็นตัวสะกด
 
== แหล่งข้อมูลอื่น==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/อาเลฟ"