ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แก๊สปิโตรเลียมเหลว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Rattakorn c (คุย | ส่วนร่วม)
ก๊าซปิโตรเลียมเหลว ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น แก๊สปิโตรเลียมเหลว ทับหน้าเปลี่ยนทาง: ศัพท์บัญ...
Rattakorn c (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''ก๊าซแก๊สปิโตรเลียมเหลว''' หรือ '''แอลพีจี''' ({{lang-en|liquefied petroleum gas: LPG}}) จัดเป็นเชื้อเพลิงอีกชนิดหนึ่งที่มาจาก[[ซากดึกดำบรรพ์]] ({{lang-en|fossil fuel}}) เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแยก[[น้ำมันดิบ]]ใน[[โรงกลั่นน้ำมัน]]หรือการแยก[[ก๊าซแก๊สธรรมชาติ]] ใน[[โรงแยกก๊าซแก๊สธรรมชาติ]] ซึ่งประกอบด้วยส่วนผสมของไฮโดรคาร์บอน 2 ชนิด คือ [[โพรเพน]]และ[[บิวเทน]]ไม่มีกลิ่น ไม่มีสี ปราศจากพิษ หนักกว่าอากาศ ติดไฟได้ในช่วงของการติดไฟที่ 2–15 % ของปริมาณในอากาศ และอุณหภูมิที่ติดไฟได้เองคือ 400 องศาเซลเซียส
{{รอการตรวจสอบ}}
'''ก๊าซปิโตรเลียมเหลว''' หรือ '''แอลพีจี''' ({{lang-en|liquefied petroleum gas: LPG}})จัดเป็นเชื้อเพลิงอีกชนิดหนึ่งที่มาจาก[[ซากดึกดำบรรพ์]] ({{lang-en|fossil fuel}}) เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแยก[[น้ำมันดิบ]]ใน[[โรงกลั่นน้ำมัน]]หรือการแยก[[ก๊าซธรรมชาติ]] ใน[[โรงแยกก๊าซธรรมชาติ]] ซึ่งประกอบด้วยส่วนผสมของไฮโดรคาร์บอน 2 ชนิด คือ [[โพรเพน]]และ[[บิวเทน]]ไม่มีกลิ่น ไม่มีสี ปราศจากพิษ หนักกว่าอากาศ ติดไฟได้ในช่วงของการติดไฟที่ 2–15 % ของปริมาณในอากาศ และอุณหภูมิที่ติดไฟได้เองคือ 400 องศาเซลเซียส
 
ในประเทศไทยก๊าซแก๊สหุงต้มส่วนใหญ่ได้จากโรงแยกก๊าซแก๊สธรรมชาติโดยใช้อัตราส่วนผสมของโพรเพน และบิวเทนประมาณ 70:30 ซึ่งจะให้ค่าความร้อนที่สูง
 
== การใช้ประโยชน์ ==
ก๊าซแก๊สปิโตรเลียมเหลวสามารถใช้เป็นเชื้อเพลิงในการประกอบอาหารในครัวเรือน จึงเรียกกันว่า '''ก๊าซแก๊สหุงต้ม''' สามารถใช้ใน[[โรงงานอุตสาหกรรม]]และ[[ยานพาหนะ]]ได้
 
== อ้างอิง ==