ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เวสต์มินสเตอร์แอบบีย์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Rattakorn c (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
แก้ศัพท์
บรรทัด 8:
| ชื่อเดิม = เซนต์เซวิเออร์
| ฐานะวัด = [[มหาวิหาร]]
| นิกาย = [[อังกลิคันแองกลิคัน]]
| โครงสร้าง =
| เมืองที่ตั้ง = [[เวสต์มินสเตอร์]]
บรรทัด 39:
}}
 
'''แอบบีเวสต์มินสเตอร์''' หรือ '''เวสต์มินสเตอร์แอบบี''' ({{lang-en|'''The Collegiate Church of St Peter at Westminster''' หรือเรียกกันสั้นๆ ว่า '''Westminster Abbey'''}}) แอบบีเวสต์มินสเตอร์เดิมเป็นสำนักสงฆ์ (นสเตอร์เดิมเป็น[[อาราม]]ชนิด[[แอบบี)]] แต่ปัจจุบันเป็นวัด[[โบสถ์]]ในนิกาย[[แองกลิคัน]]ที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกของ[[พระราชวังเวสต์มินสเตอร์]]ในแขวง[[เวสต์มินสเตอร์]]ใน[[กรุงลอนดอน]]ใน[[อังกฤษ]] สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบ[[สถาปัตยกรรมกอธิค|กอธิค]]เป็นส่วนใหญ่นอกจากหอคอยที่เป็น[[สถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอธิค]] แอบบีเวสต์มินสเตอร์เป็นสถานที่ที่ใช้ในการทำ[[พระราชพิธีบรมราชาภิเษก]]และที่ฝังพระบรมศพของพระมหากษัตริย์อังกฤษและพระบรมวงศานุวงศ์ ระหว่างปี ค.ศ. 1546 ถึงปี ค.ศ. 1556 แอบบีได้รับเลื่อนฐานะขึ้นเป็น[[มหาอาสนวิหาร]] ต่อมาในรัชสมัยของ[[สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษ|สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1]] แอบบีก็ได้รับแต่งตั้งให้เป็น[[พระอารามหลวงในอังกฤษ|พระอารามหลวง]] (Royal Peculiar)
 
== ประวัติ ==
แอบบีเวสต์มินสเตอร์เริ่มสร้างเป็นครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 616 ณ ที่ตั้งปัจจุบันที่เดิมเรียกว่า[[เกาะธอร์นีย์ (ลอนดอน)|ธอร์น อาย (เกาะธอร์น)]] ซึ่งเป็นเกาะกลางแม่น้ำ ตามตำนานกล่าวว่าคนหาปลาใน[[แม่น้ำเทมส์]]ชื่ออัลดริชเห็น[[นักบุญปีเตอร์]]มาปรากฏตัวใกล้กับที่ตั้งแอบบีในปัจจุบัน ซึ่งอาจจะเป็นเหตุผลของการที่แอบบีได้รับปลาซาลมอนจากคนหาปลาใน[[แม่น้ำเทมส์]]ต่อมา แต่ตามหลักฐานที่น่าเชื่อถือกว่ากล่าวว่าในคริสต์ทศวรรษ 960 หรือต้นคริสต์ทศวรรษ 970 [[นักบุญดันสตัน]]ร่วมกับ[[สมเด็จพระเจ้าเอ็ดการ์ผู้รักสงบ|พระเจ้าเอ็ดการ์]]ได้ก่อตั้งชุมชนนักบวช[[เบ็นนาดิคตินนักพรต]][[คณะเบเนดิกติน]]ขึ้นที่นี่ ต่อมา[[สมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้สารภาพ]]ก็สร้างแอบบีให้เป็นวัดโบสถ์หินระหว่างปี ค.ศ. 1045 ถึงปี ค.ศ. 1050 เพื่อให้เป็นส่วนหนึ่งของพระราชวังของพระองค์ แอบบีได้รับการสถาปนาเมื่อวันที่ [[28 ธันวาคม]] [[ค.ศ. 1065]]<ref name=BriefHistory>{{cite web|url=http://www.westminster-abbey.org/history-research/a-brief-history/|title=A Brief History—Introduction to Westminster Abbey|publisher=Dean and Chapter of Westminster Abbey|accessdate=2008-04-19}}</ref> เพียงอาทิตย์เดียวก่อนที่จะเสด็จสวรรคตและใช้เป็นที่ฝังพระศพของพระองค์เอง ในปี ค.ศ. 1245 [[สมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 3 แห่งอังกฤษ|พระเจ้าเฮนรีที่ 3]] ก็ทรงสร้างแอบบีใหม่แทนแอบบีเดิมและทรงเลือกให้เป็นที่บรรจุพระศพของพระองค์เอง
 
[[ไฟล์:London westminster 1894.jpg|thumb|left|แผนผังมหาวิหาร ค.ศ. 1894]]
ภาพของแอบบีเดิมที่ในลักษณะที่เป็น[[สถาปัตยกรรมโรมาเนสก์]]ก็เหลืออยู่เพียงภาพที่ปรากฏอยู่ข้างๆ พระราชวังเวสต์มินสเตอร์บน[[ผ้าปักบายู]] ทางแอบบีมีรายได้เพิ่มขึ้นจนขยายตัวจากนักบวชนักพรตราวสิบกว่าองค์รูปขึ้นไปเป็นราวแปดสิบองค์รูป<ref>Harvey (1993); p. 2</ref>
 
เจ้าอาวาสอธิการของแอบบีผู้ซึ่งเป็นผู้คงแก่เรียนพำนักอยู่ไม่ไกลจาก[[พระราชวังเวสต์มินสเตอร์]]ซึ่งเป็นที่ตั้งของรัฐบาลที่เป็นศูนย์กลางของอำนาจทางการเมืองมาตั้งแต่หลังจาก[[ชาวนอร์มัน]]ได้รับ[[ชัยชนะของชาวนอร์มันต่ออังกฤษ|ชัยชนะต่ออังกฤษ]] ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 11 และต่อมาอีกหลายร้อยปี ก็มักจะได้รับตำแหน่งในพระราชสำนักและในที่สุดก็มีสิทธิได้เป็นสมาชิกใน[[สภาขุนนาง]] เมื่ออำนาจทางด้านการเป็นผู้นำของนิกายคณะถูกย้ายไปอยู่ที่[[แอบบีคลูนี]]ในฝรั่งเศสในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 10 นักบวชนักพรตของแอ็บบีเวสต์มินสเตอร์ก็มีโอกาสในการบริหารบริเวณที่ดินต่างๆ ที่เป็นเจ้าของซึ่งบางครั้งก็ไกลไปจากเวสต์มินสเตอร์เองมาก “นักบวชเบ็นเนดิคตินนักพรตคณะเบเนดิกตินดูเหมือนจะปรับตัวเข้ากับการใช้ชีวิตอย่างฆราวาสได้เป็นอย่างดี และโดยเฉพาะกับในหมู่ชนชั้นสูง” เป็นคำสรุปของบาร์บารา ฮาร์วีย์ ที่ทำให้เห็นภาพพจน์ของชีวิตประจำวัน<ref>Harvey (1993)</ref> ในแง่มุมของชนชั้นผู้ดีในสังคมชั้นสูงในยุคกลางและปลายยุคกลาง
 
แต่การที่มีที่ตั้งที่อยู่ไม่ไกลจากพระราชวังเวสต์มินสเตอร์ก็มิได้ทำให้นักบวชนักพรตมีความสัมพันธ์กับพระมหากษัตริย์มากไปกว่าปกติ ในทางสังคมนักบวชนักพรตของแอบบีก็ยังปฏิบัติตัวอย่างสมถะเช่นเดียวกับนักบวชนักพรตอื่นๆ ในนิกายคณะเดียวกันที่ตั้งอยู่ที่อื่น เจ้าอาวาสอธิการแอบบีก็ยังคงมีฐานะเป็นผู้เป็นเจ้าของที่ดินของชุมชนราวสองสามพันคนรอบๆ แอบบี ในฐานะผู้บริโภคและนายจ้างทางราชสำนักก็ช่วยส่งเสริมความเจริญทางเศรษฐกิจของเวสต์มินสเตอร์ นอกจากนั้นความสัมพันธ์ระหว่างราชสำนักกับเวสต์มินสเตอร์ก็เป็นความสัมพันธ์อันดี แต่ทางเวสต์มินสเตอร์ก็มิได้รับสิทธิพิเศษในการค้าขายใดๆ ในยุคกลาง<ref>Harvey (1993); p. 6f</ref> แอบบีเวสต์มินสเตอร์สร้างร้านค้าและที่อยู่อาศัยทางด้านตะวันตกแต่ก็เริ่มรุกเข้ามาในบริเวณของนักบวชนักพรต
 
แอบบีกลายเป็นสถานที่ในการทำพระราชพิธีบรมราชาภิเศกของพระมหากษัตริย์[[นอร์มัน]]แต่ไม่มีองค์ใดที่ถูกฝังที่นั่นมาจนมาถึง[[สมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 3 แห่งอังกฤษ|พระเจ้าเฮนรีที่ 3]] ผู้ทรงอุทิศพระองค์แก่[[ลัทธินิยม]]พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้สารภาพ พระองค์ทรงสร้างแอบบีเวสต์มินสเตอร์ใหม่ในแบบ[[สถาปัตยกรรมกอธิค]]เพื่อเป็นอนุสรณ์ให้แก่[[สมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้สารภาพ|นักบุญเอ็ดเวิร์ดผู้สารภาพ]] ผู้ได้รับการสถาปนาให้เป็น[[นักบุญ]]ในปี ค.ศ. 1161 และเป็นที่สำหรับฝังพระบรมศพของพระองค์เอง งานการก่อสร้างยังคงทำกันต่อมาระหว่างปี ค.ศ. 1245 ถึงปี ค.ศ. 1517 และส่วนใหญ่ทำโดยสถาปนิก[[เฮนรี เยเวล]] (Henry Yevele) ในสมัย[[สมเด็จพระเจ้าริชาร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษ|พระเจ้าริชาร์ดที่ 2]] ต่อมาในปี ในปี ค.ศ. 1503 [[สมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 7 แห่งอังกฤษ|พระเจ้าเฮนรีที่ 7]] ก็ทรงต่อเติมชาเปลแบบ[[เพอร์เพ็นดิคิวลาร์]] (Perpendicular Period) ทางด้านหลังสุดของแอบบีที่อุทิศให้แก่[[พระแม่มารี]] (ที่รู้จักกันว่า “ชาเปลพระแม่มารีของพระเจ้าเฮนรีที่ 7”) หินที่ใช้สร้างแอบบีมาจาก[[ค็อง]] (Caen) ใน[[ฝรั่งเศส]] และในบริเวณ[[ลุ่มแม่น้ำลัวร์]]
 
[[ไฟล์:Westminster Abbey Standard.png|thumb|left|ธงของแอบบีเวสต์มินสเตอร์ที่ประกอบด้วยอาร์มของ[[ราชวงศ์ทิวดอร์]]ระหว่าง[[ดอกกุหลาบทิวดอร์]]เหนือ[[อาร์ม]]ของ[[นักบุญเอ็ดเวิร์ดผู้สารภาพ]]]]
ในปี ค.ศ. 1535 จากการสำรวจทรัพย์สินและรายได้ของวัดโบสถ์ในอังกฤษก่อน[[การพระราชกฤษฎีกายุบสำนักสงฆ์อาราม]]ทางการพบว่ารายได้ประจำปีของแอบบีเวสต์มินสเตอร์เป็นจำนวนประมาณ £2400-2800 ซี่งเป็นจำนวนที่มากเป็นที่สองรองจาก[[แอบบีกลาสตันบรี]] (Glastonbury Abbey) หลังจากนั้น[[สมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ|พระเจ้าเฮนรีที่ 8]] ก็ทรงยึดการปกครองจากนักบวชนักพรตมาทรงปกครองด้วยพระองค์เองในปี ค.ศ. 1539 และทรงยกฐานะแอบบีขึ้นเป็น[[มหาอาสนวิหาร]]ในปี ค.ศ. 1540 และพระราชทาน[[พระราชเอกสารสิทธิ]] (letters patent) ก่อตั้งให้แอบบีเวสต์มินสเตอร์เป็นสังฆมณฑลนสเตอร์เป็น[[เขตมิสซัง]]อิสระ--[[สังฆมณฑลเขตมิสซังเวสต์มินสเตอร์]] การก่อตั้งแอบบีเวสต์มินสเตอร์ให้เป็นมหาอาสนวิหารทำให้แอบบีรอดจากการถูกทำลายอย่างยับเยินเช่นแอบบีอื่นๆ เกือบทุกแอบบีในราชอาณาจักรอังกฤษในยุคเดียวกัน แต่เวสต์มินสเตอร์ก็เป็นมหาอาสนวิหารอยู่ได้เพียงสิบปีจนถึงปี ค.ศ. 1550 วลี “โขมยจากปีเตอร์ไปจ่ายให้พอล” (robbing Peter to pay Paul) อาจจะมีรากมาจากยุคนี้คือเมื่อรายได้ที่ควรจะเป็นของแอบบีเวสต์มินสเตอร์ (ซึ่งเป็นแอบบีที่อุทิศให้แก่นักบุญปีเตอร์) ถูกโอนไปให้กับคลังของ[[มหาวิหารเซนต์พอล]]
 
[[สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งอังกฤษ|สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1]] ผู้ทรงเป็นนับถือนิกายโรมันคาทอลิกได้พระราชทานแอบบีเวสต์มินสเตอร์คืนให้กับนักบวชเบ็นนาดิคตินนักพรตเบเนดิกติน แต่ก็มาถูกยึดคืนโดย[[สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษ|สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1]] ในปี ค.ศ. 1559 ยี่สิบปีต่อมาในปี ค.ศ. 1579 พระองค์ก็พระราชทานฐานะแอบบีให้เป็น “[[พระอารามหลวงในอังกฤษ|พระอารามหลวง]]” ซึ่งหมายถึงการเป็นวัดโบสถ์ที่ขึ้นตรงต่อพระมหากษัตริย์องค์รัฏฐาธิปัตย์แทนที่จะขึ้นอยู่กับ[[มุขนายกเขตการปกครองของบาทหลวงของสังฆมณฑลใดสังฆมณฑลหนึ่งมิสซัง]] และพระราชทานชื่อใหม่ว่า “[[วัดโบสถ์คอลเลจิเอตเซนตปีเตอร์]]” (Collegiate Church of St Peter) ซึ่งเท่ากับเป็นการสิ้นสุดจากการเป็นแอบบีหรือสำนักสงฆ์อารามมาเป็นวัดโบสถ์ที่ปกครองโดยอธิการดีน (dean) เจ้าอาวาสอธิการองค์สุดท้ายของแอบบีได้รับการแต่งตั้งให้เป็นอธิการดีนองค์แรก
 
ในคริสต์ทศวรรษ 1640 ระหว่าง[[สงครามกลางเมืองอังกฤษ]]แอบบีได้รับความเสียหายจาก[[กลุ่มเพียวริตัน]]ที่พยายามบุกเข้ามา[[ลัทธิทำลายรูปเคารพ|ทำลายรูปเคารพ]]ต่างๆ แต่ก็ได้รับการปกป้องเพราะความที่อยู่ใกล้กับรัฐบาล[[เครือจักรภพแห่งอังกฤษ|เครือจักรภพ]] เมื่อ[[เจ้าผู้พิทักษ์]][[โอลิเวอร์ ครอมเวลล์]]ถึงแก่อสัญกรรมก็ได้รับการทำพิธีฝังศพกันอย่างอย่างใหญ่โตที่แอบบีในปี ค.ศ. 1658 แต่ร่างของครอมเวลล์ก็มาถูกขุดขึ้นมาเพียงอีกสามปีต่อมาในเดือนมกราคม ค.ศ. 1661 เพื่อนำมาแขวนคอที่ตะแลงแกงไม่ไกลจากแอบบีนัก
บรรทัด 63:
หอสองหอด้านหน้าแอบบีสร้างระหว่างปี ค.ศ. 1722 ถึงปี ค.ศ. 1745 โดย[[นิโคลัส ฮอคสมัวร์]] (Nicholas Hawksmoor) จาก[[หินพอร์ตแลนด์]] และเป็นตัวอย่างของ[[สถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอธิค]] การขยายต่อมาทำในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ภายใต้การควบคุมของเซอร์[[จอร์จ กิลเบิร์ต สกอตต์]] (George Gilbert Scott) [[ปฏิมณฑล]]สำหรับด้านหน้าออกแบบโดยเซอร์[[เอ็ดวิน ลูเต็นส]] (Edwin Lutyens) ในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 แต่ไม่ได้สร้าง
 
จนกระทั่งถึงคริสต์ศตวรรษที่ 19 แอบบีเวสต์มินสเตอร์ก็เป็นสถานศึกษาลำดับที่สามของอังกฤษรองจาก[[มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด]] และ[[มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์]] และเป็นสถานที่ที่หนึ่งในสามตอนแรกของ[[พระคัมภีร์ไบเบิลฉบับพระเจ้าเจมส์]] (King James Bible) ของพันธสัญญาเดิมและครึ่งหลังของพันธสัญญาใหม่ได้รับการแปล ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 แอบบีก็เป็นที่รวบรวม[[พระคัมภีร์ไบเบิลภาษาอังกฤษฉบับใหม่]] (New English Bible) แอบบี เวสต์มินสเตอร์ได้รับความเสียหายเพียงเล็กน้อยระหว่างการทิ้งระเบิดในลอนดอนเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1940
<div style="clear: both"></div>
 
== พระราชพิธีบรมราชาภิเษก ==
[[ไฟล์:SanktEdvardsstol westminster.jpg|thumb|left||บัลลังก์พระเจ้าเอ็ดเวิร์ด]]
ตั้งแต่พระราชพิธีบรมราชาภิเษกของทั้ง[[สมเด็จพระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสัน|พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสัน]] และ[[สมเด็จพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษ]]ในปี ค.ศ. 1066 แล้วแอบบีก็ใช้เป็นสถานที่สำหรับการทำพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของพระมหากษัตริย์ของอังกฤษและของสหราชอาณาจักรทุกพระองค์ ยกเว้น[[สมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 5 แห่งอังกฤษ|พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 5]] และ[[สมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 8 แห่งสหราชอาณาจักร|พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 8]] ผู้ไม่ทรงไม่มีโอกาสเข้าทำพระราชพิธีบรมราชาภิเษก<ref name=BriefHistory /> เมื่อ[[สมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 3 แห่งอังกฤษ|พระเจ้าเฮนรีที่ 3]] ขึ้นครองราชย์พระองค์ไม่ทรงไม่สามารถทำพิธีราชาภิเษกในลอนดอนได้ เพราะ[[พระเจ้าหลุยส์ที่ 8 แห่งฝรั่งเศส]]ทรงยึดลอนดอนอยู่ในขณะนั้น พระองค์จึงทรงย้ายไปทำพระราชพิธีบรมราชาภิเษกที่[[มหาวิหารกลอสเตอร์]]ใน[[กลอสเตอร์เชอร์]] แต่พระสันตปาปาทรงเห็นว่าเป็นการไม่ถูกต้อง พระเจ้าเฮนรีที่ 3 จึงทรงทำพระราชพิธีบรมราชาภิเษกเป็นครั้งที่สองในแอบบีเวสต์มินสเตอร์เมื่อวันที่ [[17 พฤษภาคม]] [[ค.ศ. 1220]]<ref>{{cite web|url=http://www.archontology.org/nations/england/king_england/henry3.php|title=Henry III, Archonotology.org|accessdate=2008-04-21}}</ref> [[เลดี้เจน เกรย์]]ผู้ครองราชย์เพียงเก้าวันก็มิได้มีพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ตามธรรมเนียมแล้ว[[อัครบาทหลวงอาร์ชบิชอปแห่งแคนเตอร์บรีเทอร์เบอรี]]จะเป็นนักบวช[[เคลอริก]]ผู้ทำพิธีพระราชพิธีบรมราชาภิเษก บัลลังก์ที่ใช้ประทับระหว่างพิธีคือ[[บัลลังก์พระเจ้าเอ็ดเวิร์ด]] (King Edward's Chair) ที่เก็บไว้ภายในมหาอาสนวิหารและใช้มาตั้งแต่ ค.ศ. 1308 ระหว่าง ค.ศ. 1301 ถึง ค.ศ. 1996 ภายใต้บัลลังก์มี[[หินแห่งสโคน]] (Stone of Scone) ซึ่งเดิมเป็นหินที่พระมหากษัตริย์แห่งสกอตแลนด์ทรงใช้ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก แต่ปัจจุบันหินแห่งสโคนถูกนำกลับไปเก็บที่[[ปราสาทเอดินบะระห์]]ในสกอตแลนด์จนกว่าจะถึงพระราชพิธีบรมราชาภิเษกครั้งต่อไป
 
== การบรรจุศพและอนุสรณ์ ==
[[ไฟล์:Westminster Abbey cloister.jpg|thumb|right|250px|[[ระเบียงคด]]]]
[[สมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 3 แห่งอังกฤษ|พระเจ้าเฮนรีที่ 3]] ทรงสร้างแอบบีเวสต์มินสเตอร์ใหม่เพื่อเป็นเกียรติแก่นักบุญ[[สมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้สารภาพ]] [[วัตถุมงคลในคริสต์ศาสนา|วัตถุมงคล]]ของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่เดิมอยู่ภายในบริเวณศักดิ์สิทธิ์ภายในสักการสถานในแอบบีแต่ในปัจจุบันย้ายไปอยู่ภายใต้ที่เก็บศพภายใต้พื้นโมเสก[[คอสมาติ]]หน้าแท่นบูชาเอก ส่วนพระบรมศพของพระเจ้าเฮนรีที่ 3 เองก็ถูกบรรจุไว้ในที่บรรจุอันงดงามไม่ไกลนัก เช่นเดียวกับพระมหากษัตริย์[[ราชวงศ์แพลนทาเจเน็ท]] และพระญาติพระวงศ์อีกหลายพระองค์ หลังจากการบรรจุพระบรมศพของพระเจ้าเฮนรีที่ 3 แล้วการบรรจุศพภายในแอบบีก็กลายเป็นประเพณีของการบรรจุพระบรมศพของพระมหากษัตริย์และพระราชินีเกือบทุกพระองค์ต่อมา ยกเว้นบางพระองค์เช่น[[สมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ|พระเจ้าเฮนรีที่ 8]] และ[[สมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ|พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1]] ที่ได้รับการบรรจุที่[[ชาเปลเซนต์จอร์จ, วินด์เซอร์|ชาเปลเซนต์จอร์จ]]ที่[[พระราชวังวินด์เซอร์]]เช่นเดียวกับพระมหากษัตริย์และพระราชวงศ์หลังจากรัชสมัยของ[[สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 2 แห่งบริเตนใหญ่|พระเจ้าจอร์จที่ 2]]
 
พระบรมศพหรือพระศพของพระมหากษัตริย์หรือพระราชวงศ์จะบรรจุไว้ภายในชาเปลต่างๆ ภายในแอบบี ส่วนศพของนักบวชและผู้อื่นที่เกี่ยวข้องกับแอบบีเวสต์มินสเตอร์ก็จะบรรจุภายใน[[ระเบียงคดฉันนบถ]]และบริเวณอื่นๆ ในแอบบี เช่นกวีคนสำคัญของอังกฤษ[[เจฟฟรีย์ ชอเซอร์]]ผู้เคยพำนักอยู่ที่แอบบีเวสต์มินสเตอร์และเป็นข้าราชสำนักขณะที่มีชีวิตอยู่ กวีคนอื่นๆ ก็ถูกบรรจุไว้ในบริเวณเดียวกันที่เรียกกันว่า “[[มุมกวี]]” ที่ได้แก่; [[วิลเลียม เบลค]], [[โรเบิร์ต เบิร์นส]] และ[[วิลเลียม เชกสเปียร์]]เป็นต้น ต่อมาการบรรจุศพกันในแอบบีกลายมาเป็นสิ่งที่เชิดหน้าชูตา จึงทำให้เผยแพร่ไปยังการบรรจุศพบุคคลสำคัญๆ จากอาชีพต่างๆ เช่นนักการเมือง, นักวิทยาศาสตร์ หรือนักการทหารเป็นต้น
 
== อ้างอิง ==