ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรคใหลตาย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pubat (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
<!-- โปรดช่วยกันแปลบทความนี้ให้จบ เนื่องจากผู้แปลดั้งเดิมไม่มีเวลามากพอจะสำเร็จกิจอันนี้ แปลเสร็จแล้วก็ลบป้ายนี้ทิ้งด้วย -->
'''โรคใหลตาย''' ({{lang-en|sudden unexpected death syndrome (ย่อ: SUDS) หรือ sudden unexpected nocturnal death syndrome (ย่อ: SUNDS)}}; มักสะกดผิดว่า '''โรคไหลตาย''' (ดู [[#ศัพทมูล|ศัพทมูล]])) เป็น [[ความตาย]]ที่เกิดแก่[[บุคคล]] ไม่ว่า[[วัยรุ่น]] (adolescent) หรือ [[ผู้ใหญ่]] (adult) อย่างปัจจุบันทันด่วนขณะ[[นอนหลับ]] และไม่อาจอธิบายสาเหตุแห่งความตายนั้นได้
 
==ชื่อทางการแพทย์==
({{lang-en|sudden unexpected death syndrome (ย่อ: SUDS) หรือ sudden unexpected nocturnal death syndrome (ย่อ: SUNDS)}};
 
==บันทึกการพบ==
โรคใหลตายนั้น ได้รับการบันทึกเป็นครั้งแรกใน [[พ.ศ. 2520]] ในบรรดา[[ม้ง|ชาวม้ง]]ที่ลี้ภัยอยู่ใน[[สหรัฐอเมริกา]]<ref>{{cite journal|unused_data=MMWR Morb Mortal Wkly Rep|year=1981|volume=30|issue=47|journal=MMWR. Morbidity and mortality weekly report|pages=581-4,589|title=Sudden, unexpected, nocturnal deaths among Southeast Asian refugees|author=Centers for Disease Control (CDC)
|pmid=6796814}}</ref><ref>{{cite journal|journal=MMWR CDC Surveil Summ|year=1987|volume=36|issue=1|pages=43SS–53SS|title=Sudden unexplained death syndrome in Southeast Asian refugees: a review of CDC surveillance|author=Parrish RG, Tucker M, Ing R, Encarnacion C, Eberhardt M|pmid=3110586}}</ref> และบันทึกอีกครั้งใน[[ประเทศสิงคโปร์]] เมื่อ[[การสำรวจย้อนหลัง|ผลการสำรวจย้อนหลัง]] (retrospective survey) ปรากฏว่า [[คนไทย|ชายไทย]]ที่สุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงดีจำนวนสองร้อยสามสิบคนกลับตาย เกิดอาการหลับและเสียชีวิต อย่างฉับพลันและไร้สาเหตุในระหว่าง พ.ศ. 2525 ถึง 2533 จำนวน 230 คน<ref>{{cite journal|author=Goh KT, Chao TC, Chew CH|title=Sudden nocturnal deaths among Thai construction workers in Singapore|journal=Lancet|year=1990|volume=335|issue=8698|pages=1154|pmid=1971883|doi=10.1016/0140-6736(90)91153-2}}</ref> ส่วนใน[[ประเทศฟิลิปปินส์]] ปรากฏว่า ในปีหนึ่ง โรคใหลตายคร่าชีวิตชาวฟิลิปปินส์ไป ร้อยละสี่สิบสาม 43 ต่อหนึ่งหมื่น 10,000 คน โดยผู้เคราะห์ร้ายส่วนใหญ่เป็นชายวัยรุ่น<ref>{{cite journal|last=Gervacio-Domingo|first=G.|coauthors=F . Punzalan , M . Amarillo , A . Dans|title=Sudden unexplained death during sleep occurred commonly in the general population in the Philippines: a sub study of the National Nutrition and Health Survey .|journal=Journal of Clinical Epidemiology|volume=60|issue=6|pages=561–571|url=http://linkinghub.elsevier.com/retrieve/pii/S0895435606004082|accessdate=2008-12-09}}</ref>
 
== ศัพท์มูล ==
== ศัพทมูล ==
การสะกดในภาษาไทย เกิดปัญหาใน ปี [[พ.ศ. 2533]] ซึ่งเป็นปีที่โรคใหลตายปรากฏชัดในประเทศว่า ควรสะกดกาสะกดชื่อโรคนี้ว่า "ใหลตาย" หรือ "ไหลตาย" ดีคำใดมีความถูกต้องมากกว่ากัน โดยในปีนั้นเป็นผลให้ [[ราชบัณฑิตยสถาน]] ได้มีประชุมปรึกษากันเป็นหลายยกหลายเกณฑ์ด้านการใช้ภาษา แต่ก็ยังมิได้หาข้อสรุป ไม่ได้โดยแต่ฝ่ายที่เห็นใมห้ความเห็นว่า ควรสะกดว่า "ไหล" (สระ ไ ไม้มลาย) มีเหตุผลว่าเพราะ "ไหล" เป็น[[ภาษาถิ่นอีสาน]] ปรากฏใน "พจนานุกรมภาษาถิ่นอีสาน-ภาคกลาง ฉบับปณิธาน ของสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (ติสสฺมหาเถระ)" มีความหมายว่า "นอนหลับไม่ได้สติ" ประกอบกับเป็นชื่อโรคซึ่งเป็น[[วิสามานยนาม]] และมิใช่หนึ่งในยี่สิบ 20 คำที่ต้องเขียนด้วนไม้ม้วน (ตามบทกลอน "ผู้ใหญ่หาผ้าใหม่ ฯลฯ") ขณะที่ฝ่ายเห็นชอบให้สะกด "ใหล" (สระ ใ ไม้ม้วน) พิเคราะห์ว่า "ใหล" มาจาก "หลับใหล" มีความหมายว่า "นอนหลับไม่ได้สติ" เหมือนกัน<ref name = "ROYIN">"สู่ข้อยุติ : โรคใหลตาย". (2533, 17 พฤษภาคม). ''จดหมายข่าวราชบัณฑิตยสถาน,'' (ปีที่ 2). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: <[http://www.royin.go.th/th/knowledge/detail.php?ID=1050 ลิงก์]>. (เข้าถึงเมื่อ: 26 พฤศจิกายน 2553).</ref>
 
ขณะที่ฝ่ายเห็นชอบให้สะกด "ใหล" (สระ ใ ไม้ม้วน) พิเคราะห์ว่า "ใหล" มาจาก "หลับใหล" มีความหมายว่า "นอนหลับไม่ได้สติ" เหมือนกัน<ref name = "ROYIN">"สู่ข้อยุติ : โรคใหลตาย". (2533, 17 พฤษภาคม). ''จดหมายข่าวราชบัณฑิตยสถาน,'' (ปีที่ 2). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: <[http://www.royin.go.th/th/knowledge/detail.php?ID=1050 ลิงก์]>. (เข้าถึงเมื่อ: 26 พฤศจิกายน 2553).</ref>
ในปีเดียวกันนั้น คณะกรรมการชำระพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานได้ยกปัญหาขึ้นพิจารณาอีก โดยตรวจสอบบรรดาเอกสารที่เกี่ยวข้อง เช่น พจนานุกรม-อีสาน-กลาง ฉบับมหาวิทยาลัยของแก่น-สหวิทยาลัยอีสาน, สารานุกรมภาษาอีสาน-ไทย-อังกฤษ ของ ปรีชา พิณทอง, ฯลฯ กลับไม่พบว่ามีที่ใดสะกด "หลับใหล" ว่า "หลับไหล" มีแต่พจนานุกรมภาษาถิ่นอีสาน-ภาคกลาง ฉบับปณิธาน ของสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (ติสสฺมหาเถระ) ข้างต้นฉบับเดียวเท่านั้น ที่อ้างว่าเทียบมาจากพจนานุกรมภาษาลาว ราชบัณฑิตยสถานจึงได้สืบค้นไปยังพจนานุกรมภาษาลาว พบว่า ในภาษาลาวก็สะกด "หลับใหล" ด้วยสระ ใ ไม้ ม้วน เหมือนในภาษาไทย โดยให้ความหมายว่า "ละเมอ" หรือ "เอิ้นหรือฮ้องในเวลานอนหลับหรือในเวลาตื่นตกใจจนหลงสติ" หาได้สะกดอย่างพจนานุกรมภาษาถิ่นอีสาน-ภาคกลาง ฉบับปณิธาน ของสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (ติสสฺมหาเถระ) ไม่<ref name = "ROYIN"/>
 
ในปีเดียวกัน คณะกรรมการชำระพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ได้ยกปัญหาขึ้นพิจารณาโดยตรวจสอบบรรดาเอกสารที่เกี่ยวข้อง เช่น พจนานุกรม-อีสาน-กลาง ฉบับมหาวิทยาลัยของแก่น-สหวิทยาลัยอีสาน, สารานุกรมภาษาอีสาน-ไทย-อังกฤษ ของ ปรีชา พิณทอง, ฯลฯ กลับไม่พบว่ามีที่ใดสะกด "หลับใหล" ว่า "หลับไหล"
 
ในปีเดียวกันนั้น คณะกรรมการชำระพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานได้ยกปัญหาขึ้นพิจารณาอีก โดยตรวจสอบบรรดาเอกสารที่เกี่ยวข้อง เช่น พจนานุกรม-อีสาน-กลาง ฉบับมหาวิทยาลัยของแก่น-สหวิทยาลัยอีสาน, สารานุกรมภาษาอีสาน-ไทย-อังกฤษ ของ ปรีชา พิณทอง, ฯลฯ กลับไม่พบว่ามีที่ใดสะกด "หลับใหล" ว่า "หลับไหล" มีแต่พจนานุกรมภาษาถิ่นอีสาน-ภาคกลาง ฉบับปณิธาน ของสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (ติสสฺมหาเถระ) ข้างต้นฉบับเดียวเท่านั้น ที่อ้างว่าเทียบมาจากพจนานุกรมภาษาลาว ราชบัณฑิตยสถานจึงได้สืบค้นไปยังพจนานุกรมภาษาลาว พบว่า ในภาษาลาวก็สะกด "หลับใหล" ด้วยสระ ใ ไม้ ม้วน เหมือนในภาษาไทย โดยให้ความหมายว่า "ละเมอ" หรือ "เอิ้นหรือฮ้องในเวลานอนหลับหรือในเวลาตื่นตกใจจนหลงสติ" หาได้สะกดอย่างพจนานุกรมภาษาถิ่นอีสาน-ภาคกลาง ฉบับปณิธาน ของสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (ติสสฺมหาเถระ) ไม่<ref name = "ROYIN"/>
 
ที่สุด ราชบัณฑิตยสถานจึงมีมติว่าโรคนี้ให้เขียน "ใหลตาย" โดยคำว่า "ใหล" นั้นมาจาก "หลับใหล"<ref name = "ROYIN"/>
<!--
 
== สาเหตุแห่งโรค ==
โรคใหลตายใหลตาย เดิมเชื่อกันว่ามีสาเหตุมาจากผีสางเทวดา โดยวิญญาณเป็นโรคที่เกี่ยวข้องกับิส่งที่สัมผัสไม่ได้ ในประเทศไทยนั้น เชื่อว่า เกิดจากการกินขนมซึ่งทำจากข้าว ส่วนชาวฟิลิปปินส์เชื่อว่า การรับประทานคาร์โบไฮเดรตเป็นปริมาณมากก่อนนอนนั้นจะทำให้ใหลตาย หรือที่เรียกในภาษาตากาล็อกว่า "bangungot"
 
แต่ไม่กี่ปีมานี้ โลกวิทยาศาสตร์เพิ่งให้ความสนใจใฝ่รู้ในโรคดังกล่าว ผลการค้นคว้าพบว่า ผู้ใหลตายล้วนมีโรคทางกายเกี่ยวกับหัวใจ หรือปัญหาอื่นทางโครงสร้างหัวใจ
 
ในทางวิทยาศาสตร์ มีผลการค้นคว้า ได้ผลว่าผู้ใหลตายล้วนมีโรคทางกายเกี่ยวกับหัวใจ หรือปัญหาอื่นทางโครงสร้างหัวใจ หรือมีปัญญาทางการหายใจอย่างใดอย่างหนึ่งหรือด้วยกันทั้งสิ้นอันเป็นส่วนหนึ่งของสาเหตุการที่จะทำให้ไม้สติกลับมาควบคุมการหายใจอีกครั้งจึงเป็นสาเหตุของการใหลตาย
<!--
However, cardiac activity during SUDS episodes indicates irregular heart rhythms and ventricular fibrillation. The victim survives this episode if the heart's rhythm goes back to normal. Older folks in the Philippines recommend trying wiggling the big toe while experiencing this to snap back.<ref name="ramos">{{cite book |last=Ramos |first=Maximo D. |authorlink= |coauthors= |title=Creatures of Philippine Lower Mythology |year=1971 |publisher=University of the Philippines Press |location=Philippines |isbn= }}</ref>
 
In the Philippines, most cases of ''bangungot'' have been linked with [[acute pancreatitis|acute hemorrhagic pancreatitis]] by Filipino medical personnel although the effect might have been due to changes in the pancreas during [[post-mortem]] [[autolysis]].<ref name="bangungutmanila">{{cite journal|last=Munger|first=Ronald G.|coauthors=Elizabeth A. Booton|date=1998|title=Bangungut in Manila: sudden and unexplained death in sleep of adult Filipinos|journal=International Journal of Epidemiology|pages=677–684|url=http://www.hawaii.edu/hivandaids/Bangungut_in_Manila__Sudden_and_Unexplained_Death_in_Sleep_of_Adult_Filipinos.pdf|accessdate=2008-12-09}} {{Dead link|date=October 2010|bot=H3llBot}}</ref> In Thailand and Laos, ''bangungot'' (or in their term, [[sudden adult death syndrome]]) is caused by the [[Brugada syndrome]].<ref>[http://www.inq7.net/lif/2004/jun/19/lif_7-1.htm http://www.inq7.net/lif/2004/jun/19/lif_7-1.htm (link broken as of 3 October 2007).]</ref>
-->
 
<--
== ลักษณะเด่น ==
The condition appears to affect primarily young Hmong men from [[Laos]] (median age 33)<ref>{{cite journal|doi=10.2105/AJPH.77.9.1187|journal=Am J Public Health|year=1987|volume=77|issue=9|pages=1187-90|title=Sudden death in sleep of Laotian-Hmong refugees in Thailand: a case-control study|author=Munger RG}}</ref> and northeastern Thailand (where the population are mainly of Laotian descent).<ref name="Tatsanavivat">{{cite journal|journal=Int J Epidemiol|year=1992|volume=21|issue=5|pages=904-10|title=Sudden and unexplained deaths in sleep (Laitai) of young men in rural northeastern Thailand|author=Tatsanavivat P, Chiravatkul A, Klungboonkrong V, Chaisiri S, Jarerntanyaruk L, Munger RG, Saowakontha S|pmid=1468851|doi=10.1093/ije/21.5.904}}</ref><ref>{{cite journal|journal=Int J Epidemiol|year=1993|volume=22|issue=1|pages=81-7|title=Sudden unexplained death syndrome in north-east Thailand|author=Tungsanga K, Sriboonlue P|pmid=8449651|doi=10.1093/ije/22.1.81}}</ref> There is a strong hereditary component and the victims tend to die in their sleep.
เส้น 33 ⟶ 43:
 
Ongoing genetic studies by Spanish electrophysiologist Dr. Josep Brugada Terradellas show that SUDS results from mutations in the cardiac sodium channel gene. This means that it is a chromosomal problem, which is why it runs in families. Therefore doctors say that families who have kin that have suffered from or died of SUDS must see a heart specialist.
 
-->
 
== การรักษา ==
วิธีเดียวที่จะป้องกันโรคใหลตาย คือ [[การปลูกฝังเครื่องกระตุกหัวใจ|ปลูกฝังเครื่องกระตุกหัวใจ]] (cardiovertor defibrillator implantation) ส่วนการรับประทาน[[ยาต้านหัวใจเต้นผิดจังหวะ]] (antiarrhythmic) นั้น ไม่ผลในการช่วยเลยชีวิตแต่อย่างใด<ref name="DEBUT"/>
 
<!--
 
เส้น 56 ⟶ 68:
* [[การหยุดหายใจในเวลานอน]] (sleep apnoea)
 
== รายการอ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{Reflist|2}}
 
==แหล่งข้อมูลอื่น==
== ดูเพิ่ม ==
*{{Cite news
| last1 = Tan
เส้น 107 ⟶ 119:
 
{{เรียงลำดับ|รโรคใหลตาย}}
 
[[หมวดหมู่:พยาธิวิทยา]]
[[หมวดหมู่:หทัยวิทยา]]
[[หมวดหมู่:โรคทางแผนโบราณ]]
[[หมวดหมู่:โรคไม่ติดต่อ]]
 
 
[[en:Sudden unexpected death syndrome]]