ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรมทรัพยากรน้ำ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสจห.
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล หน่วยงานของรัฐ
| name = กรมทรัพยากรน้ำ
| en_name = Department of Water Resources
| image = [[ไฟล์:ตราสัญลักษณ์กรมทรัพยากรน้ำ.gif|143px|ตราสัญลักษณ์องค์กร]]
| caption =
| address = เลขที่ 180/3 ถ.พระรามที่ 6 ซอย 34 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400
| abbr = ทน. หรือ DWR.
| type = ส่วนราชการ
| class = กรม
| establish_date =
| budget = 6,011,488,300 <small> ([[พ.ศ. 2554]]) </small><ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2553/A/060/1.PDF พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554]</ref>
| group = [[กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม]]
| type_headman = อธิบดี
| headman = นายจตุพร บุรุษพัฒน์
| type_secretary =
| secretary =
| website = [http://www.dwr.go.th www.dwr.go.th]
| footnote =
}}
บรรทัด 21:
'''กรมทรัพยากรน้ำ''' เป็นหน่วยงานระดับกรม ในสังกัด[[กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม]] ก่อตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม [[พ.ศ. 2545]]
 
== ประวัติ ==
เพื่อให้การบริหารทรัพยากรน้ำมีความก้าวหน้ายิ่งขึ้น ในปี 2543 คณะรัฐมนตรีได้กำหนดกรอบ “วิสัยทัศน์น้ำแห่งชาติ” โดยให้ความเห็นชอบ เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2543 และจากวิสัยทัศน์น้ำแห่งชาติ ได้นำไปสู่การกำหนด “นโยบายน้ำแห่งชาติ” ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้ให้ความความเห็นชอบเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2543 ภายใต้แนวคิดที่สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 แนะแนวทางการบริหารจัดการน้ำแบบผสมผสานที่มุ่งเน้นการประสาน การพัฒนา และการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำร่วมกับทรัพยากรอื่นที่เกี่ยวข้อง ด้วยการคำนึงถึงผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมเป็นสำคัญ เพื่อนำไปสู่ผลตอบแทนสูงสุดด้านเศรษฐกิจและสังคม
 
ผลจากการปฏิรูประบบราชการเมื่อปลายปี 2545 ที่ผ่านมา ได้นำไปสู่การจัดตั้ง กรมทรัพยากรน้ำ ในฐานะหน่วยงานภาครัฐที่มีภารกิจหลักด้านการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างครบวงจร โดยทำหน้าที่เสนอแนะนโยบาย จัดทำแผนแม่บท การศึกษาวิจัย พัฒนาอนุรักษ์ และฟื้นฟูแหล่งน้ำ ตลอดจนการส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชน ในรูปของคณะอนุกรรมการลุ่มน้ำ ให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล เพื่อส่งเสริมบทบาทของประชาชน ในการมีส่วนร่วมกับการทำงานของภาครัฐ เริ่มจากการคิด การนำเสนอความเห็น การลงมือปฏิบัติ รวมทั้งการติดตามและประเมินผล เพื่อสร้างการยอมรับในแผนงานของโครงการและกิจกรรมของภาครัฐ ที่เข้าไปดำเนินการพัฒนาท้องถิ่นได้อย่างเปี่ยมประสิทธิภาพ และยั่งยืน
 
== อำนาจและหน้าที่ ==
# เสนอแนะการจัดทำนโยบาย แผน และมาตรการที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรน้ำ
# บริหารจัดการ พัฒนา อนุรักษ์ ฟื้นฟู รวมทั้งควบคุม ดูแลกำกับ ประสาน ติดตาม ประเมินผล และแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับทรัพยากรน้ำ
# พัฒนาวิชาการ กำหนดมาตรฐาน และถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านทรัพยากรน้ำ ทั้งระดับภาพรวมและระดับลุ่มน้ำ
 
== ผลงานสำคัญ ==
บรรทัด 40:
# สำนักเลขาธิการคณะกรรมการแม่น้ำโขงแห่งชาติไทย
 
== หน่วยงานในสังกัด ==
* สำนักบริหารกลาง
* [[สำนักวิจัยพัฒนาและอุทกวิทยา]]
* สำนักส่งเสริมและประสานมวลชน
* [[สำนักบริหารจัดการน้ำ]]
* [[สำนักพัฒนาแหล่งน้ำ]]
* [[สำนักนโยบายและแผนทรัพยากรน้ำ]]
* [[สำนักประสานความร่วมมือระหว่างประเทศ]]
* [[ศูนย์สารสนเทศทรัพยากรน้ำ]]
* [[ศูนย์ป้องกันวิกฤติน้ำ]]
* [[สำนักอนุรักษ์และฟื้นฟูแหล่งน้ำ]]
* [[สำนักทรัพยากรน้ำ]] ภาค 1-10
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== แหล่งข้อมูล ==
*[http://www.dwr.go.th กรมทรัพยากรน้ำ]
 
{{กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของไทย}}